Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การควบคุมสินค้าคงเหลือ - Coggle Diagram
บทที่ 10 การควบคุมสินค้าคงเหลือ
ความหมายของการควบคุมสินค้าคงเหลือ
กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำให้สินค้าคงเหลือมีปริมาณหรืออยู่ในระดับที่เหมาะสม
ปัจจัยในการกำหนดระดับสินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือที่ปลอดภัย (Safety stock)
การพยากรณ์ (Demand forecasting)
ระยะเวลารอคอย (Lead time)
จำนวนสั่งซื้อ (Order quantity)
ความจำเห็นที่ต้องมีการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ
ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา
ค่าใช้จ่ายเมื่อสินค้าขาดสต็อก
ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อสินค้า
มูลค่าของสินค้าคงเหลือ
วัตถุประสงค์ของการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ด้านการเก็บรักษา มีสินค้าคงเหลืออยู่ในสภาพพร้อมผลิตและการขายตลอดเวลา
ด้านการคลังสินค้า ตรวจสอบสินค้าเข้า - ออกและยอดสินค้าคงเหลือ
ด้านการผลิตและการขาย มีเพียงพอต่อการผลิตและการขาย
ด้านการบริหาร สามารถทราบว่ารายการสินค้าใดที่ขายได้มาก รายการใดควรเพิ่มหรือลด
ด้านการเงิน ลงทุนในสินค้าคงเหลือให้น้อยที่สุด แต่ไม่เสี่ยงต่อการ มีสินค้าขาดสต็อก
ประเภทของสินค้าคงเหลือ
สินค้าปลอดภัยหรือสินค้าสำรอง (Safety stock)
สินค้าคงเหลือระหว่างทาง (Pipe - line inventory)
สินค้าคงเหลือที่เกิดขึ้นเนื่องจากสั่งสินค้าเป็นล็อต (Lot - size stock)
สินค้าที่เก็บไว้ตามฤดู (Seasonal stock)
สินค้าที่เก็บเป็นรอบ (Cycle stock)
สินค้าที่เก็บไว้เพื่อเก็งกำไร (Speculative stock)
วิธีที่ใช้ในการควบคุมสินค้าคงเหลือ
การกำหนดจุดสั่งซื้อ (Reorder point)และปริมาณสินค้าคงเหลือเพื่อความที่ปลอดภัย (Safety stock)
ระบบ ABC (ABC system)
ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด(Economics order quantity = EOQ)
ระบบ MAX - MIIN
ประโยชน์ที่รับจากการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ช่วยทำให้สินค้าไม่ค้างอยู่ในคลังสินค้านานเกินไป
ช่วยให้สามารถวางแผนในการจัดซื้อและขายสินค้าได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ช่วยป้องกันการทุจริต
ช่วยให้ทรายข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือเพื่อใช้ในการตัดสินใจได้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค
ช่วยให้เงินลงทุนในวัตถุดิบหรือสินค้าสำเร็จรูปไม่จมอยู่ในสินค้า คงเหลือมากเกินไป
ช่วยให้ฝ่ายบริหารสามารถทราบทำหนดงบประมาณในการจัดซื้อได้อย่างเหมาะสม
การบริหารสินค้าคงเหลือมีเป้าหมาย 2 ประการ
เพื่อให้มีสินค้าคงเหลือเพียงพอในระดับที่เหมาะสม
เพื่อให้ต้นทุนในการสั่งซื้อและต้นทุนในการเก็บรักษาอยู่ในระดับที่ต่ำที่สุด