Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย - Coggle Diagram
บทที่ 4 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ความสำคัญของตัวแปร
-เป็นตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎี
-เป็นตัวเชื่อมโยงกับสมมติฐานการวิจัย
-ตัวแปรช่วยทำให้สามารถวัดและทดสอบได้
-ตัวแปรจากช่วยให้เลือกใช้สถิติวิเคราะห์ได้เหมาะสม
การนิยามตัวแปร
-การนิยามเชิงทฤษฎีหรือการนิยามเชิงมโนทัศน์
-การนิยามเชิงปฏิบัติการ
ประเภทของคำศัพท์ที่ต้องนิยาม
-คำศัพท์ทางวิชาการ
-คำศัพท์ที่มีหลายความหมาย
-คำศัพท์ที่ยังมีความหมายไม่แน่นอน
-คำหรือข้อความที่เป็นวลียาว ๆ
หลักการเขียนคำนิยามตัวแปร
หากตัวแปรมีความซับซ้อนเกี่ยวข้องกับหลาย ๆ มโนทัศน์ ควรนิยามเกี่ยวกับมโนทัศน์อื่น ๆ ก่อนแล้วจึงให้นิยามตัวแปรนั้น
ตัวแปรบางตัวไม่ใช่ตัวแปรในการวิจัย
ไม่ควรแยกคำนิยามโดยการตัดออกเป็นส่วน ๆ
การนิยามเชิงปฏิบัติการ
-ให้ความหมายโดยกำหนดสิ่งที่ผู้วิจัยต้องสร้างขึ้นมาเป็นเงื่อนไข
-ให้ความหมายโดยมีการสร้างพฤติกรรม
-ให้ความหมายในเชิงรูปธรรมของสิ่งที่ถูกวัด
เขียนคำนิยามให้กับตัวแปรที่ปรากฏอยู่ในปัญหาวิจัยทุกตัว
ประเภทของตัวแปร
พิจารณาตามความต่อเนื่องของคุณลักษณะ
-ตัวแปรต่อเนื่อง
-ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง
พิจารณาตามความสัมพันธ์ของตัวแปร
-ตัวแปรที่ต้องการ
-ตัวแปรที่ไม่ต้องการ
-ตัวแปรคาดเคลื่อน
พิจารณาตามลักษณะของคุณสมบัติที่แปรค่าออกมา
-ตัวแปรเชิงปริมาณ
-ตัวแปรเชิงคุณภาพ
พิจารณาตามลักษณะของพฤติกรรมมนุษย์
-ตัวแปรเชิงมโนทัศน์
-ตัวแปรเชิงโครงสร้าง
ลักษณะของสมมติฐานการวิจัยที่ดี
-มีความเกี่ยวข้องกับปัญหา
-ขอบเขตของสมมติฐาน
-ต้องแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
-สามารถทดสอบได้
-สามารถทดสอบซ้ำได้
-สามารถสรุปอ้างอิงได้
-มีการนำเสนอที่ดี
หลักการเขียนสมมติฐานการวิจัย
-เขียนสมมติฐานการวิจัยอย่างมีเหตุผล
-เขียนสมมติฐานการวิจัยให้สอดคล้องกับปัญหาวิจัยและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
-ควรเขียนสมมติฐานการวิจัยได้หลาย ๆ สมมติฐาน
-เขียนสมมติฐานการวิจัยเป็นประโยคบอกเล่าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
-เขียนสมมติฐานการวิจัยให้อยู่ในรูปของความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ควรจะทราบสองกลุ่ม
-เขียนสมมติฐานการวิจัยต้องกำหนดให้กระจ่างชัดเจนและเฉพาะเจาะจง
-สมมติฐานการวิจัยควรเป็นสิ่งที่สามารถทดสอบหาคำตอบได้ด้วยข้อมูลหรือหลักฐานต่างๆ
-ในการทำวิจัยบางเรื่องที่ไม่สามารถเขียนสมมติฐานการวิจัยได้ นักวิจัยควรอธิบายถึงเหตุผล แนวคิดสำคัญ หรือทฤษฎีที่จะใช้ในการวิจัยครั้งนั้น
ประโยชน์ของสมมติฐานการวิจัย
-สมมติฐานในการวิจัยมีส่วนช่วยจำกัดขอบเขต
-สมมติฐานจะช่วยกำหนดให้ได้ความจริงตรงประเด็น
-สมมติฐานจะช่วยชี้แบบการวิจัย
-สมมติฐานจะช่วยอธิบายข้อเท็จจริงต่างๆ
-สมมติฐานในการวิจัยช่วยให้ประหยัดเวลาและแรงงาน
แหล่งที่มาของสมมติฐานการวิจัย
-จากความรู้และประสบการณ์ของผู้วิจัย
-จากความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
-จากข้อค้นพบที่มีผู้ทำวิจัยไว้แล้ว
-จากทฤษฎีและแนวคิด
-จากหลักเหตุผลเชิงเปรียบเทียบ
-จากการร่วมอภิปราย ประชุม อบรม สัมมนา หรือสนทนา
ความหมายของตัวแปร
ตัวแปร หมายถึง คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งที่สนใจศึกษา สามารถแปรเปลี่ยนค่าได้มากกว่าหนึ่งค่า
ความหมายของสมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย หมายถึง ข้อความที่คาดคะเนคำตอบของการวิจัยอย่างมีเหตุผล ซึ่งมีประเด็นสอดคล้องกับปัญหาการวิจัยหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย มีการทดสอบโดยอาศัยข้อมูลและวิธีการทางสถิติว่าสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้เป็นความจริงหรือไม่
ประเภทของสมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานการวิจัย
-สมมติฐานแบบมีทิศทาง
-สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง
สมมติฐานทางสถิติ
-สมมติฐานที่เป็นกลาง
-สมมติฐานที่เป็นทางเลือก