Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathophysiology of Gastrointestinal system - Coggle Diagram
Pathophysiology of
Gastrointestinal system
กลุ่มอาการผิดปกติของ
ระบบทางเดินอาหาร และโรคที่เกี่ยวข้อง
(Signs and symptoms
of GI and related disease)
Vomiting
Mechanism of vomiting
กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลมหดตัว
หูรูดกระเพาะอาหารและกระเพาะอาหารส่วน Fundus คลายตัว
กระเพาะอาหารส่วน Pylorus บีบตัว
Soft palate หดตัวไม่ให้อาหารออกทางจมูก
อ้วก !!!!
Epiglottis ปิดกล่องเสียง
Pathway of
mechanism of Vomiting
Cortex and limbic system
กลิ่นเหม็นๆ
ภาพสยดสยอง
มโนภาพที่ทำให้อยากอาเจียน
เครียด
อะไรก็ตามที่เกี่ยวข้องกับความคิดอารมณ์และ ความรู้สึกแล้วทาให้อาเจียนมากจาก Pathway นี้
Chemoreceptor trigger
Medulla oblongata
กระตุ้นจากการเปลี่ยนแปลงของ สารเคมีในเลือดและไขสันหลัง
Vestibular system
เมารถเมาเรือ
Vestibular disease
Peripheral pathway
Neurotransmitter of GI tract
Vagal and sympathetic nerve
กระตุ้นจากโรคของระบบทางเดินอาหารต่างๆ
Gastroenteritis
Gut obstruction
Gastritis
Gastric ulcer & Duodenal ulcer
GERD
Appendicitis
Anorexia neevosa
โรคคลั่งผอม
เป็นโรคทาง Psychiatry โรคหนึ่งที่เกิดจากการกินที่ผิดปกติ
มักจะคิดว่าตนเองอ้วนตลอดเวลา (ทั้งๆ ที่ตนเองผอมแห้ง หนังติดกระดูกอยู่แล้ว)
ล้วงคออ้วกเป็นประจำ
ทานยาลดน้ำหนัก,ยาขับปัสสาวะ
ออกกำลังกายหนัก
คนเหล่านี้จะะมี BMI ต่ากว่าเกณฑ์
มักจะไม่ค่อยทานอาหาร
Constipation
ท้องผูก
อุจจาระ < 3 ครัง/สัปดาห์
อุจจาระต้องแข็งแห้ง ใช้แรงเบ่งมาก
หลังอุจจาระรู้สึกว่ายังไม่สุด หรือมีความ อึดอัดไม่สบายท้อง
บางคนอาจจะขับถ่ายสัปดาห์ละครัง แต่ถ้า อุจจาระปกติไม่แข็งแห้ง ไม่ถือว่าเป็น Constipation
Pathophysiology of constipation
Slow colon transit
Drugs ->
Opiate (Tramadol, Morphine)
, Amitriptyline, Calcium carbonate
Metabolic disease -> Hypothyroidism
Increase bowel Na/H2O absorption
Insufficient bile acid
Defecatory problem
Partial obstruction ->
Colon cancer
Insufficient fiber
Psychiatry
Diarrhea
อุจจาระร่วง
อุจจาระเหลว ≥ 3 ครัง/วัน
อุจจาระมีมูกปนเลือด ≥ 1 ครัง/วัน
Classification of diarrhea
Acute < 2 weeks
Persistent 2-4 weeks
Chronic > 4 weeks
Mechanisms of diarrhea
Secretory diarrhea
กระตุ้น cAMP ด้วยสาเหตุใด ๆ ก็ตามที่เยื่อบุลำไส้เล็ก
มักจะถ่ายเหลวออกมาปริมาณมาก ๆ และต่อเนื่องตลอดเวลา
สาเหตุ
V. cholera
E. coli
C. difficile
ขับ Cl ออกมาในลำไส้ ส่งผลให้ Na และ H2O ถูกดึงตามมาในลำไส้ (Electrolyte transportation)
Osmotic diarrhea
เกิดจากความผิดปกติของการย่อย ซึ่งไม่สามารถ ย่อยสารใด ๆ ก็ตามที่สามารถดึงน้ำเข้าหาตัวได้
ถ่ายเหลวปริมาณปานกลาง
กินก็จะถ่ายเหลว ไม่กินก็จะหยุดถ่าย
สาเหตุ
Lactase deficiency
-> ย่อย Lactose ไม่ได้ทำ ให้ Lactose ดึงน้ำเข้ามาในลำไส้
Decreased motility
ลำไส้เคลื่อนตัวขับอุจจาระช้าเกินไป
ทำให้เกิดแบคทีเรียเจริญเติบโตในลำไส้มากเกินไป และมีอาการถ่ายเหลวได้
สาเหตุ เช่น Neuromuscular defect of bowel
Increased motility
ลำไส้เคลื่อนตัวมากเกินไป อาหารเคลื่อนผ่านลำไส้อย่างรวดเร็ว
อุจจาระถูกดูดซับน้ำได้ไม่ทัน เกิดอาการถ่ายเหลว
สาเหตุ เช่น Irritable bowel syndrome, Thyrotoxicosis
Decreased surface area (osmotic, motility)
เกิดจากกลไก Osmotic + Motility ร่วมกัน
เชื้อที่พบบ่อยคือ Rotavirus ที่เป็นสาเหตุของอาการท้องเสียในเด็ก
กลไกคือ เชื้อไวรัสเข้าไปเกาะที่ลำไส้ส่วน Jejunum(ที่ ทำหน้าที่ดูดซึมน้ำตาลและแป้ง) ilium (สร้างสารลด การเคลื่อนตัวของลำไส้)
ทำให้ผนังล้าไส้ส่วน Villi ถูกท้าลายพื้นที่ในการดูดซึม น้ำตาลลดลง เกิด Osmotic diarrhea
ลำไส้ส่วน ilium มีการสร้างสาร encephalin ลดลง ลำไส้เคลื่อนตัวมากขึ้น (Motility diarrhea)
Mucosal invasion (Exudative diarrhea)
มีการลุกล้ำ(Invasion)ของเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ผนังลำไส้ส่วนใน
Macrophage มาเก็บกินเชื้อโรคและสลายตัวเองไป
ตรวจอุจจาระมักพบ WBC
Neutrophil เข้ามาทำให้เกิดกระบวนการอักเสบ ผนังลำไส้ถูกทำลาย เกิดการหลุดลอกของผนังลำไส้ เกิดถ่ายเหลวออกมาเป็นมูกเลือด
สาเหตุ
Shigella
Salmanella
EHEC (Enterohemorrhagic Escherechia coli)
Abdominal pain
type of abdominal pain
Parietal pain
เป็นอาการปวดของ Parietal peritoneum ที่หุ้มผนังช่องท้อง
สามารถระบุตำแหน่งปวดได้ชัดเจน ลักษณะอาการปวดจะเป็นแบบ Sharp pain
เกิดจากการกระตุ้น Somatic nerve (A-delta fiber)
ตำาแหน่งปวดจะแสดงได้ชัดเจนตามตำแหน่งของ Parietal peritoneum ที่เกิดพยาธิสภาพ
Refer pain
เกิดจากการที่มีการใช้ Central pathway ร่วมกันของ Afferent neuron
เป็นอาการปวดตำแหน่งที่ไกลจากอวัยวะนั้น ๆ
Afferent neuron ตอนเป็น Embryo มันจะอยู่ใกล้ ๆ กัน แต่พอมีการ Development ของอวัยวะต่างๆ ทำให้ Afferent neuron บางส่วนไปอยู่อีกที่หนึ่ง
เช่น Liver จะมี Afferent neuron ที่ตัวว Liver เอง และบางส่วนจะอยู่ที่สะบัก ด้านขวา เพราะฉะนั้นอาการปวดที่เกิดจากพยาธิสภาพใน Liver อาจจะแสดง อาการปวดร้าวไปที่สะบักขวาได้
Visceral pain
เกิดจากการกระตุ้นอาการปวดของ C fiber Network of afferent ในแต่ละอวัยวะ
Fore gut -> Epigastrium pain
จะแสดงอาการปวดบริเวณ Midline บอกตำแหน่งชัดเจนไม่ได้ กดเจ็บไม่ชัดเจน
Mid gut -> Periumbilical pain
เป็นลักษณะของอาการปวดของVisceral peritoneum
ทุกอวัยวะในช่องท้อง
Hind gut -> Hypogastric pain
Cause of abdominal pain
สาเหตุทางด้านศัลยกรรม
(Surgical condition)
รักษาด้วยการผ่าตัดฉุกเฉิน หรือรักษาด้วยยาและแก้ไขสาเหตุด้วยการผ่าตัดหรือหัตถการทางศัลยกรรม
เช่น Acute appendicitis, Acute cholecystitis, Peptic ulcer perforation
สาเหตุทางด้านอายุรกรรม
(Medical condition)
รักษาด้วยยาเพียงอย่างเดียว
สาเหตุทางด้านนรีเวชกรรม
(Gynecologic condition)
เป็นการปวดที่เกิดจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงรักษาด้วยยาและการผ่าตัด
GI bleeding
คือภาวะตกเลือดในระบบทางเดินอาหาร
Upper gastrointestinal bleeding (UGIH)
อาการวิทยาของ UGIH
อาเจียนเป็นสีน้ำตาล (Coffee ground) Coffee ground เกิดจากเลือดที่ผสมกับกรดใน กระเพาะอาหารกลายเป็น Acid Hematin ทำให้กลายเป็นสี น้ำตาล และหากถูกย่อยในระบบทางเดินอาหารเรื่อย ๆ ก็จะถ่าย ออกมาเป็นสีดำยางมะตอยเรียกว่า Melena
ถ่ายดำ (Melena) หรือถ้าเลือดออกมาก ๆ ก็จะถ่ายเป็นเลือดสด (Hematemesis)
อาเจียนเป็นเลือดสด (Hematemesis)
สาเหตุของ UGIH
Peptic ulcer bleeding 45% -> Duodenum ulcer, Gastric ulcer
Esophageal varices 20%
Gastritis 20%
Mallory-Weiss syndrome 10%
Uncommon cause 5% -> Gastric cancer
Peptic ulcer bleeding
คือภาวะเลือดออกจากการมีแผล(Erosion)ที่ บริเวณ Stomach หรือ Duodenum
เมื่อแผลลึกถึงเส้นเลือดก็แตกและเลือดออกได้
มี 5 ประเภท ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของแผลซึ่งเกิด จากสาเหตุที่แตกต่างกัน
สาเหตุที่สำาคัญอย่างหนึ่งคือ เชื้อแบคทีเรีย H. pylori ซึ่งทำให้เกิด Ulcer และ Bleeding ได้ บ่อย ๆ
จะมีการรักษาพิเศษกว่า Ulcer ชนิดอื่น โดยจะ มีการให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย เรียกว่า “H. pylori eradication”
Gastritis
คือการอักเสบของกระเพาะอาหารที่เกิดจากสาเหตตุ่างๆ
เมื่ออักเสบมาก ๆ ก็ทำให้เกิดจุดเลือดออกเล็ก ๆ กระจายทั่วทั้งกระเพาะอาหาร
สาเหตุ : NSAID used, Alcohol, Steroid, Chemical burn
Mallory-Weiss syndrome
เกิดจากภาวะหลอดอาหารฉีกขาดและเลือดออก
มักเกิดตามหลังการอาเจียนที่รุนแรงหลายครั้ง
ประวัติที่พบบ่อยคือ อาเจียนมาก จากนั้นมีอาเจียนเป็นเลือดตามมา
มักมีอาการเจ็บอกร่วมด้วย
หากหลอดอาหารฉีกทะลุถึง Mediastinum จะเรียกว่า Boerhaave’s syndrome
Gastric cancer
คือภาวการณ์เจริญเติบโตของเซลล์เยื่อบุผิวกระเพาะอาหาร (Dysplasia)
สาเหตุมักเริ่มมาจากการเป็นๆหายของแผลที่เกิด ประบวนการรักษาตัวซ้า ๆ ร่วมกับ Carcinogen
การติดเชื้อH.pylori ก็เป็นสาเหตุที่พบบ่อย
ไม่มีอาการของโรคที่จำเพาะเจาะจง ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการจุกเสียดแน่นลินปี่คล้ายๆอาการของ Dyspepsia
Lower gastrointestinal bleeding (LGIH)
คือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนที่อยู่ Distal ต่อ Ligament of Treitz (ส่วนมากมัก เกิดจาก lesion บริเวณ Colon)
อาการวิทยาที่พบได้บ่อยคือ ถ่ายเป็นเลือด (Hematochezia)
ลักษณะอุจจาระเป็นเลือดในแบบต่าง ๆ สามารถอธิบายตำแหน่งของเลือดที่ออกได้
สาเหตุของ LGIH
Diverticular disease
Inflammatory bowel disease
Hemorrhoid and Anal fissure
Colon cancer
Diverticular disease
เป็นสาเหตุของ LGIH ที่พบได้บ่อยที่สุด
มักพบในผู้ป่วยสูงอายุ โดยเฉพาะมากกว่า 70ปี
มักพบบริเวณตำแหน่ง Sigmoid colon ท่ีมีการใช้แรงบีบอุจจาระมาเป็นเวลานาน
ทำให้กล้ามเนื้อผนังลำไส้อ่อนแอ เกิดเป็นกระเปาะ (Diverticulosis) ซึ่งแตกและมีอาการ ถ่ายเป็นเลือดได้
Inflammatory bowel disease
คือกลุ่มอาการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร
แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
Ulcerative colitis -> เกิดเฉพาะ Colon เท่านั้น
Crohn’s disease -> เกิดได้ทั่วทั้งทางเดินอาหาร
สาเหตุ เกิดจากพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม
ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการถ่ายเป็นมูกเลือด มีไข้ ปวดท้องร่วมด้วย
Hemorrhoid and Anal fissure
Hemorrhoid เป็นการโป่งพองของเส้นเลือดที่ทวาร ทพให้เกิดก้อนภายในและภายนอกทวาร ซึ่งสามารถ แตกและเกิดอาการถ่ายเป็นเลือดได้
ปัจจัยท่ีทำให้เกิด Hemorrhoid คือ อุปนิสัยการ ขับถ่ายท่ีไม่ปกติ นั่งอุจจาระนาน ท้องผูกบ่อย ๆ
Anal fissure คือแผลบริเวณทวารท่ีเกิดจากการถูก อุจจาระแข็งดึงถ่างทวารจนเกิดแผล
ผู้ป่วยจะมีอาการถ่ายเป็นเลือด และปวดทวาร ลักษณะเหมือนมีดบาด อุจจาระเคลื่อนผ่านแผล
Colon cancer
คือโรคที่เซลล์เยื่อบุผิวลำไส้ใหญ่เจริญเติบโตอย่างผิดปกติ เกิดเป็นเนื้อร้ายลุกลามอวัยวะ ข้างเคียง
แบ่งเป็นหลายชนิดขึ้นอยู่กับชนิดเซลล์ และ ตำแหน่งที่เกิด
ผู้ป่วยมักมาด้วยอาการอุจจาระลำเล็กลง หรือ ถ่ายเป็นเลือดในลักษณะต่างๆ ได้
จุดแบ่งระหว่าง UGIH และ LGIH คือ Ligament of Treitz ซึ่งอยู่ที่ 2/3 ของ Duodenum
สาเหตุที่แบ่งแบบนี้เพราะ อาการจะแตกต่างกัน และการรักษาก็แตกต่างกัน
กลุ่มโรคที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวผิดปกติของทางเดินอาหาร
(Disorder of GI dismotility)
Dysphagia
คือ ภาวะกลืนติดกลืนลำบาก
แบ่งเป็น 3 ประเภท
Oropharyngeal dysphagia
สาเหตุที่พบบ่อยได้แก่ Stroke ที่ส่งผลต่อการอ่อน แรงของกล้ามเนื้อการกลืน โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ชนิดต่าง ๆ และยาบางชนิด
ภาวะกลืนลำบากที่พยาธิสภาพอยู่บริเวณช่องคอ และ กล้ามเนื้อการกลืน จนถึงหูรูดหลอดอาหารส่วนบน
Esophageal dysphagia
ภาวะกลืนลำบากที่พยาธิสภาพอยู่บริเวณหลอด อาหารตังแต่หูรูดหลอดอาหารส่วนบนจนไปถึงกระเพาะอาหารส่วน Cardia
โรคที่พบบ่อยคือ
CA esophagus
พบในผู้ป่วย สูงอายุ มาด้วยอาการกลืนลำบากแบบค่อยเป็นค่อยๆ เป็นค่อยไป ตังแต่อาหารแข็ง อาหารอ่อน อาหารเหลว สุดท้ายก็กลืนน้ำลำบาก
ผู้ป่วย CA esophagus มักมีน้ำหนักลดลงมาก
อีกภาวะที่มักพบได้ คือ Dysphagia ที่เกิดจาก Esophageal stricture ที่พบในผู้ป่วย Gastroesophageal reflux disease (GERD)
Functional dysphagia
คือภาวะกลืนลำบากที่เกิดจากกล้ามเนื้อหูรูดทางเดิน อาหารส่วนปลาย (Lower esophageal sphincter) ไม่สามารถคลายตัวได้ ทำให้อาหารและน้ำไม่สามารถไหลลงสู่กระเพาะอาหารได้เลย
อาการมักจะไม่สามารถกลืนอาหารและน้ำได้เลยอย่างเฉียบพลัน
Regurgitation
Gastroesophageal reflux disease
คือภาวะที่กรดจากกระเพาะอาหารสามารถไหลย้อน เข้าสู่หลอดอาหาร และเกิดการระคายเคืองหลอดอาหารได้
พยาธิสภาพเกิดจากภาวะใดก็ตามที่ทำให้ Lower esophageal sphincter เกิดการคลายตัว
อาการคือ จุกเสียดแน่นลินปี่ หรืออก มีอาการเรอ เปรี้ยว ขมคอ
ภาวะแทรกซ้อนคือ หลอดอาหารอักเสบ (Esophagitis) มะเร็งหลอดอาหาร (CA esophagus)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดกรดไหลย้อน
อ้วน BMI เกิน
รับประทานอาหารรสจัด
ดื่มกาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ
สูบบุหรี่
อุปนิสัยกินแล้วนอน
Obstruction disisease
Gastric outlet obstruction
Pyloric stenosis
คือ ภาวะอุดตันของทางเดินอาหารบริเวณกระเพาะ อาหารส่วน Pylorus
สาเหตุมักเกิดจาก Peptic ulcer disease เรือรังที่ก่อให้เกิดแผลเป็นและพังผืด(Scar and fibrosis)
ทำให้กระเพาะอาหารส่วน Pylorus เริ่มเกิดการอุดตันช้า ๆ
ผู้ป่วยมักมีอาการ อาเจียนหลังทานอาหารภายใน 1 ชั่วโมง
คือ ภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนใดก็ตาม
Intestinal obstruction
Small bowel obstruction
คือภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนลำไส้เล็ก
สาเหตุ
Post-operative adhesion 60%
ผู้ป่วยจะมีประวัติเคยได้รับการผ่าตัดช่องท้องมาก่อนเสมอ
Malignant tumor
Hernia
Inflammatory bowel disease
Volvulus
อาการ
คลื่นไส้อาเจียน
ไม่ถ่าย ไม่ผายลม
ปวดบิดท้อง
มีไข้ในกรณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อน
Adhesion ที่เกิดหลังการผ่าตัด
Large bower obstruction
เป็นภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนลำไส้ใหญ่
มักพบในคนสูงอายุ สาเหตุที่พบบ่อยคือ Colon cancer ส่วนในเด็กมักเกิดจาก Sigmoid volvulus
อาการมักจะมาด้วย ไม่ถ่ายไม่ผายลม ท้องบวมโต อาเจียน บางครั้งจะอาเจียนเป็นอุจจาระ
กลุ่มอาการและโรคระบบทางเดินน้ำดี
(Signs and Symptoms of Hepatobiliary system and related disease)
Jaundice
คือ ภาวะดีซ่านที่เกิดจากสารเหลือง(Bilirubin)
ไปสะสมที่ผิวหนัง แบ่งเป็น 3 ประเภท
Hepatocellular jaundice
เกิดจากสาเหตุที่ตัวตับเอง มักมีค่า Direct bilirubin สูง, AST และ ALT สูง
เช่น Viral hepatitis, Live cirrhosis, Drug induced hepatitis
Cholestasis jaundice
เกิดจากการอุดตันของทางเดินน้าดีจากสาเหตตุ ต่าง ๆ
เช่น
Common bile duct stone
, CA pancreas หรือ Cholangiocarcinoma เป็นต้น
มักมีค่า Direct bilirubin สูง ALP สูง
หมายเหตุ : Direct bilirubin = Conjugated bilirubin Indirect bilirubin = Unconjugated bilirubin
Prehepatic jaundice
Indirect bilirubin สูง, Liver enzyme ปกต
มักเป็นโรคที่เกิดจากการสลายของ RBC มากเกินไป
เช่น Hemolysis ที่เกิดจากสาเหตตุ่างๆ
ค่าปกติของ Bilirubin คือ < 1 mg/ml
Bilirubin 1-3 mg/ml เรียกว่า Latent jaundice Bilirubin > 3 mg/ml ผู้ป่วยจะเริ่มเหลืองที่เห็นได้ด้วยตา เปล่า
Metabolism of bilirubin
• RBCแตกสลายได้ Heme
• Macrophage ย่อย Heme ได้ Unconjugated bilirubin เข้าสู่ Liver
• Glucorunic acid จับกับ Unconjugated bilirubin กลายเป็น Conjugated bilirubin
• Conjugated bilirubin ขับสู่ล้าไส้ถูก Bacteria ย่อยได้ Urobilinogen
• Urobilinogen บางส่วนถูกขับออกทางไต
• Urobilinogen บางส่วนถูก Oxidized กลายเป็น Stercobilin
Portal hypertension
Hepatic portal system
เป็นระบบการรับเลือดดำจากทางเดินอาหารที่มี
สารอาหารและสารพิษบางอย่างให้เข้ากระบวนการกำจัดสารพิษที่ตับ ก่อนเข้าสู่ระบบไหลเวียนของร่างกาย
คือ ภาวะที่เลือดในระบบ Hepatic portal system
มีแรงดันที่สูงขึนจากสาเหตุต่าง ๆ ที่ขวางกันทางเดิน ของ Portal system เช่น Portal vein thrombosis หรือ Liver cirrhosis
ผลลัพธ์ของ Portal hypertension
เกิดเส้นเลือดที่หลอดอาหารโป่ง Esophageal varices
ตับโตม้ามโต (Hepatosplenomegaly)
Portosystemic venous shunt เกิดเส้นเลือดดำที่
ท้องขยายตัว(Caput medusae)
ท้องมานน้ำ (Ascites)
Liver cirrhosis
คือ ภาวะเนื้อตับได้รับความเสียหายอย่างถาวรมี ความแข็งตัวขึนจากพังผืดที่เกิดขึนภายในเนื้อตับจากสาเหตุต่าง ๆ
ผลของตับแข็ง
• กำจัดสารพิษจากทางเดินอาหารได้น้อยลง
• สร้างอาหารสะสม และโปรตีน Albumin น้อยลง
• สร้าง Coagulation factor ได้ลดลง
• สร้างน้ำย่อยมาย่อยไขมันได้ลดลง
อาการแสดงของภาวะตับแข็ง
• Jaundice
• Ascites
• Spider navi
• Gynecomastia and testis atrophy
• Caput medusa
• UGIH จาก Bleeding esophageal varices
• Ecchymosis จาก Coagulopathy