Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PPH, จัดทำโดย นางสาวปาลิตา นาคยอง เลขที่ 49 รหัส 611001402841 - Coggle…
PPH
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในระยะหลังคลอด
1. การตกเลือดหลังคลอด (Postpartum hemorrhage)
2. การมีเลือดคั่งบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ (Postpartum genital hematomas)
3. การกลับสู่สภาพเดิมของมดลูกล่าช้า (Subinvolution of uterus)
4. การติดเชื้อหลังคลอด
(Postpartum infection)
5. ภาวะผิดปกติทางด้านจิตสังคมระยะหลังคลอด
อารมณ์เศร้า
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
โรคจิตหลังคลอด
การป้องกัน
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก oxytocin 10 unit (M)
2. control cord traction
3. uterine massage
4. check placenta
5. check for tear
การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง (Late postpartum hemorrhage)
สาเหตุ
1. มดลูกเข้าอู่ช้า
2. มีชิ้นส่วนของรกค้างในโพรงมดลูก
3. มีเนื้องอกของมดลูก
4. มีการอักเสบในโพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกทางช่องคลอดมากขึ้นหลายวัน
มดลูกนุ่ม หดรัดตัวไม่ดี
การลดระดับลงของมดลูกล่าช้า
การวินิจฉัย
1. ซักประวัติเกี่ยวกับการเจ็บครรภ์คลอด วิธีการคลอด ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด การรับประทานยาหลังคลอด
2. ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
3. ตรวจร่างกายดูอาการแสดงของการเสียเลือด ประเมินภาวะไข้
4. ตรวจหน้าท้องดูขนาดมดลูก และอาการ
เจ็บปวด
5. ตรวจภายในดูลักษณะน้ำคาวปลา กลิ่นเหม็น ปากมดลูก ก้อนผิดปกติ
6. ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางหน้าท้องเพื่อวินิจฉัยชิ้นส่วนของรกค้างขนาดของมดลูก ปีกมดลูก
การรักษา
ให้น้ำเกลือ / ให้เลือด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การพยาบาล
1. สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก / ปริมาณ
เลือดที่ออกทางช่องคลอด
2. ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
3. ถ้ามีการติดเชื้อ check V/S ทุก 4 ชม.
4. ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
5. ให้ยาที่ช่วยในการบีบรัดตัวของมดลูก
6. ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับ การดูแลความสะอาดของร่างกาย การรับประทานอาหารโดยเฉพาะธาตุเหล็ก วิตามิน
7. แนะนำให้ครอบครัวสนับสนุนช่วยเหลือ
8. ถ้าต้องผ่าตัด ต้องเตรียมมารดาทั้งด้านร่างกาย/จิตใจ
9. ให้กำลังใจ
แนวทางการดูแลรักษาต้องคำนึงถึงหลัก 3 ประการ
1. สาเหตุของการตกเลือด
2. ทางเลือกของการรักษา
3. ความต้องการมีบุตรในอนาคต
ขั้นตอนที่ 1: การประเมินขั้นต้นและการดูแลรักษา
1. การกู้ชีพ
เปิดเส้นโดยใช้เข็ม No.18 ให้
NSS, Ringer lactate, 5% glucose
2. หาสาเหตุของการตกเลือดหลังคลอด
ระยะแรก
3. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
ตรวจการแข็งตัวของเลือด
Matching / Grouping
ขั้นตอนที่ 2 : การดูแลรักษาตามสาเหตุ
1. กรณีที่มดลูกไม่หดรัดตัว (Uterine atony)
1.1 ใช้มือคลึงและกดบีบยอดมดลูก
1.2 ให้ยาเพื่อให้มดลูกบีบตัว
1.3 ถ้าเลือดยังออกมาก ตรวจรก ช่องทางคลอด การแข็งตัวของเลือด
ขั้นตอนที่ 3 : การดูแลรักษาในกรณี ที่เลือดออกต่อเนื่อง
ผ่าตัด
เตรียมผ่าตัด : เตรียมเลือด เตรียมห้อง ICU ให้เลือด ให้น้ำเกลือ
ถ้ามดลูกยังไม่หดรัดตัว ให้ใช้มือกดบริเวณยอดมดลูกตลอดเวลา
ขั้นตอนที่ 4 : การทำผ่าตัด
ขั้นตอนที่ 5 : การดูแลรักษาในรายที่ยังมีเลือดออกภายหลังการ ผ่าตัดมดลูก
การตกเลือดหลังคลอด (Postpartum hemorrhage)
**คือ
การสูญเสียเลือดทางช่องคลอดมากกว่า
500 ml.
การผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
มากกว่า 1,000 ml.**
ชนิดของการตกเลือดหลังคลอด
1. การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
เป็นการตกเลือดใน 24 ชม.หลังคลอด
2. การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
เป็นการตกเลือดภายหลัง 24 ชม.ไปจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
สาเหตุ จาก 4 T
1. Tone
2. Tissue
3. Trauma
4. Thrombin
อาการและอาการแสดง
บางรายปวดบริเวณฝีเย็บและทวารหนักรุนแรง
ความดันโลหิตลด ชีพจรเบาเร็ว วิงเวียนตัวเย็น เหงื่อออก ปัสสาวะออกน้อย ตกเลือด
การวินิจฉัยการตกเลือดระยะแรก
1. ซักประวัติ : การตั้งครรภ์การคลอด โรคประจำตัว
2. ประเมินปริมาณเลือดที่ออกมาหลังคลอด
3. ตรวจร่างกาย V/S อาการแสดงของการเสียเลือด
4. ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
5. ประเมินการฉีกขาดของช่องคลอดและปากมดลูก
6. ตรวจรก เยื่อหุ้มรก
7. ตรวจสอบการแข็งตัวของเลือด
ประเมินสาเหตุของภาวะ shock
จัดทำโดย
นางสาวปาลิตา นาคยอง
เลขที่ 49 รหัส 611001402841