Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะทารกเจริญติบโตช้าในครรภ์, นางสาวมุทิตา แสงเรือง เลขที่ 60…
ภาวะทารกเจริญติบโตช้าในครรภ์
ความหมาย
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
fetal growth restriction: FGR or intrauterine growth Restriction :IUGR) หมายถึง ทารกที่มีการเติบโตช้ากว่าปกติ โดยเน้นถึงภาวะทุพโภชนาการเป็นหลัก ไม่ได้คำนึงถึงขนาดของทารกเพียงอย่างเดียว
ชนิดของภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
1.Symmetrical FGR
ทารกจะเจริญเติบโตช้าตั้งแต่ครรภ์ก่อนๆ
จำนวนเซลล์ลดลงในทุกสัดส่วนของร่างกาย
ทารกเจริญเติบโตช้าแบบได้สัดส่วน
อวัยวะต่างๆเล็กลงได้สัดส่วนกันทุกอวัยวะ
เมื่อตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง พบว่า เส้นรอบวงศีรษะ เส้นรอบท้อง ความยาวกระดูกต้นขามีค่าต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำในอายุครรภ์นั้นๆ
2.Asymmetrical FGR
มีผลต่อขนาดของเซลล์มากกว่าจำนวนเซลล์
ทารกเจริญเติบโตช้าในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์
ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบไม่ได้สัดส่วน
อัตราการเจริญเติบโตของส่วนท้องจะช้ากว่าส่วนศีรษะ
สาเหตุของ
Symmetrical FGR ได้แก่
2.ภาวะทุพโภชนาการ หรือสตรีมีครรภ์มีน้ำหนักก่อนคลอดน้อยกว่า 45 กิโลกรัม หรือน้ำหนักไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
3.การได้รับรังสี โดยเฉพาะในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ซึ่งเซลล์จะมีการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว รังสีสามารถทำลายเซลล์โดยตรง
1.สภาพแวดล้อม เช่น สตรีมีครรภ์ที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่สูง ทำให้ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
4.ยาและสิ่งเสพติด ยาบางอย่างที่ใช้รักษาโรคในสตรีมีครรภ์ ทำให้ทารกเกิด FGR เช่น ยาป้องกันชักบางกลุ่ม เช่น dilantin เป็นต้น หรือยาลดความดันโลหิต เช่น propanolol เป็นต้น
5.สาเหตุทางพันธุกรรม ทารกในครรภ์ที่มีความมผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomy 13,18 หรือ 21, Turner's syndrome, multiple sex chromosome xxx เป็นต้น
6.ทารกพิการแต่กำเนิด โดยเฉพาะทารกที่มีความพิการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
7.การติดเชื้อของทารกในครรภ์ ซึ่งที่ทำให้เกิดภาวะ FGR ได้แก่ เชื้อไวรัส (เช่น Rubella cytomegalovinus, herpes virus, infiuenza, hepaitis) เชื้อแบคที่เรีย (เช่น tuboculosis, listeriosis เป็นตัน) เชื้อโปรโตซัว (เซ่น malaria, toxoplasmosis เป็นต้น)เชื้อกลุ่ม spirochete (เช่น syphilis เป็นตัน)
สาเหตุของ Asymmetrical FGR ได้แก่
2.สตรีมีครรภ์เป็นโรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดแดงในการจับออกซิเจน เช่น โรคโลหิตจางโรคหัวใจที่มีภาวะเขียว (tetralogy of fallot) เป็นต้น
3.สตรีมีครรภ์เป็นโรคไตเรื้อรัง มีการสูญเสียโปรตีนออกทางปัสสาวะ
5.ความผิดปกติของรกและสายสะดือ ทำให้อาหารและออกซิเจนมาเลี้ยงทารกลดลง เช่น infarcted placenta, chronic abruptio placenta, placenta previa, circumvallate placenta เป็นต้น
4.ภาวะครรภ์แฝด พบว่า อัตราการเกิดทารก FGR ในครรภ์แฝดสูงเป็นห้าเท่าเมื่อเทียบ
กับครรภ์เดี่ยวปกติ และจะพบ FGR มากขึ้นอีก ถ้ามีภาวะ twin-twin transfusion syndrome
1.สตรีมีครรภ์เป็นโรคหลอดเลือด โรคดังกล่าวจะมีขนาดของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงมดลูกเล็กลง (Vasoconstriction) ทำให้ปริมาณการไหลเวียนเลือดไปยังทารกลดลง
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ
ผลต่อมารดา
3.ส่งผลกระทบต่อจิตใจ
4.เพิ่มค่าใช้จ่ายในการดูแล
2.เพิ่มภาระในการเลี้ยงดู
เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอด เนื่องจากทารกมีภาวะเครียดได้ในอัตราสูง
ผลต่อทารก
2.ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ เป็นผลมาจากภาวะ acidosis โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่มี Intrauterine asphyxia
3.ภาวะความเข้มข้นของเลือดสูงจากการขาดออกซิเจนเรื้อรังขณะอยู่ในครรภ์
1.มีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในระยะแรกเกิดได้ง่าย เนื่องจากทารกมีการสะสมไกลโคเจนในตับและไขมันใต้ผิวหนังน้อยกว่าปกติ
4.ภาวะตัวเหลือง จกการที่เม็ดเลือดแดงมีการแตกสลายเพิ่มขึ้น
5.เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เพาะภูมิต้านทานต่ำ
6.การตายปริกำเนิดเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรุนแรง น้ำหนัก อายุครรภ์ เเลพเพศของทารก พบว่าเพสช่ยมีอัตราตายสูงกว่า
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ เพื่อค้นหาสาเหตุและปัจจัยส่งเสริมของการเกิดภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
2.การตรวจร่างกาย
การตรวจครรภ์ พบว่าขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์ 3 ซม.ขึ้นไป
การชั่งน้ำหนักของสตรีมีครรภ์ พบว่า น้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อย หรือไม่มีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนัก
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
FBS
BUN
CBC
HBsAg
Cr
VDRL
Anti-HIV
TORCH titer
4.การตรวจพิเศษ
2.การวัดสัดส่วนระหว่างเส้นรอบศีรษะเเละเส้นรอบท้องได้ค่าน้อยกว่า 1 แต่ในกรณีที่ทารกมีภาวะ Asymmetrical FGR จะพบค่า HC/AC ratio มากกว่า +2sd ที่อายึครรภ์นั้นๆ
3.การวัดสัดส่วนระหว่างความยาวของกระดูกต้นขาและเส้นรอบท้องได้ค่ามากกว่า 24% แสดงว่ามีภาวะ Asymmetrical FGR
1.การวัดเส้นรอบท้อง ( AC) ได้ค่าน้อยกว่า - 2SD ของค่าเส้นรอบท้องที่อายุครรภ์นั้นๆ
4.การตรวจดูระดับการเสื่อมขงรก หากพบว่ารกอยู่่เกรด 3 ของการตั้งครรภ์ แสดงว่าเกิดภาวะ FGR
การรักษา
ระยะคลอด
3.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก และเสียงหัวใจทารกทุก
/2 - 1 ชั่วโมงพบแพทย์
4.กรณีที่มีการแตกของฤงน้ำคร่ำ ให้สังเกตการมีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
2.ติดตามประเมินความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
5.หากพบว่ามี meconium ในน้ำคร่ำ หรือเสียงหัวใจทารกผิดปกติ ควรแก้ไขโดยให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย ดูแลให้ได้รับ O, ปรับเพิ่มอัตราการหยดของสารละลายเข้าทางหลอดเลือดดำ และรายงานแพทย์
1.แนะนำการนอนพักบนเตียง ในท่านอนตะแคงซ้าย เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดมาเลี้ยงมดลูกได้มากขึ้น
ระยะหลังคลอด
2.ตรวจร่างกายทารกอย่างละเอียด เพื่อประเมินความพิการหรือความผิดปกติ และให้การพยาบาลเพื่อน้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
3.ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก โดยให้มารดาได้สัมผัสและสำรวจทารก ก่อนที่จะนำทารกไปหน่วยทารกแรกเกิด พร้อมทั้งอธิบายลักษณะของทารกน้ำหนักตัวน้อยให้มารดาเข้าใจ เพื่อลดความวิตกกังวลและเกิดการยอมรับทารก
1.ให้การช่วยเหลือทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวน้อย โดยเน้นการควบคุมอุณหภูมิของทารก เพื่อป้องกันการสูญเสียความร้อนจากร่างกายทารก
4.อธิบายให้มารดาเข้าใจถึงแผนการรักษาแก่ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย และเปิดโอกาสให้มารดาได้ระบายความรู้สึก และซักถามข้อสงสัย
5.เน้นให้เห็นความสำคัญของการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ระยะตั้งครรภ์
3.แนะนำการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เพิ่มโปรตีน
2.แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยนอนตะแคงซ้ายเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่มดลูก
1.อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ แผนการรักษา และเปิดกาสให้ซักถามข้อสงสัย เพื่อให้สตรีมีครรภ์เข้าใจและให้ความร่วมมืในการรักษา
4.แนะนำให้สังเกตการดิ้นของทารกในครรภ์ หากดิ้นน้อยกว่า10 ครั้ง/วัน ควรรีบมาพบแพทย์
5.ติดตามระดับความสูงของยอดมดลูก และการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวของสตรีมีครรภ์
นางสาวมุทิตา แสงเรือง เลขที่ 60 รหัสประจำตัวนักศึกษา 621801064 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3