Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathophysiology of Gastrointestinal system, image, image, image, image,…
Pathophysiology of Gastrointestinal system
กลุ่มอาการผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
Vomiting อาเจียน
Mechanism of vomiting กลไก
กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลมหดตัว ทำให้หูรูดกระเพาะอาหารและกระเพาะอาหารส่วน Fundus คลายตัว และกระเพาะอาหารส่วน Pylorus บีบตัว ทำให้ Soft palate หดตัวไม่ให้อาหารออกทางจมูก และEpiglottis ปิดกล่องเสียงจนอาเจียนออกมา
Pathway of mechanism of Vomiting
Cortex and limbic system
สิ่งกระตุ้น กลิ่นเหม็นๆ ภาพสยดสยอง เครียด (ความคิด อารมณ์ และความรู้สึก)
Chemoreceptor trigger
-การกระตุ้นจากสารสื่อประสาท
-กระตุ้นจากการเปลี่ยนแปลงของ สารเคมีในเลือดและไขสันหลัง
Vestibular system
จากการทรงตัวในหูชั้นใน เช่น เมารถ เมาเรือ
Complication of Vomiting อาการแทรกซ้อน
สูญเสียน้ำ สูญเสียกรดในกระเพาะ สูญเสีย Potassium เส้นเลือดบริเวณ Esophageal ฉีดขาด และภาวะ Aspiration
สาเหตุ
โรคทาง GI, การใช้ยา, Metabolic, ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น, โรคทางจิตเวช
Constipation อาการท้องผูก
เกณฑ์การประเมิน
• อุจจาระ < 3 ครัง/สัปดาห์
• อุจจาระต้องแข็งแห้ง ใช้แรงเบ่งมาก
• หลังอุจจาระรู้สึกว่ายังไม่สุด หรือมีความ อึดอัดไม่สบายท้อง
Pathophysiology
บีบตัวช้าถูกดูดซึมน้ำกลับสู่ร่างกายมากขึ้น
ดูดกลับ Naและ น้ำ มากขึ้น
-fiber น้อย
มี Bile acid ต่ำ
-มีสิ่งแปลกปลอมขัดขวางทางเดินอาหาร
-อาการถ่ายไม่สุด
Abdominal pain ปวดท้อง
อาการปวดท้องมี 3 ประเภท
Parietal pain
ปวดที่หุ้มผนังช่องท้อง อาการปวดจะเป็นแบบ Sharp pain เกิดจากการกระตุ้น Somatic nerve แสดงได้ชัดเจนตามตำแหน่ง
Referred pain
ปวดตำแหน่งที่ไกลจากอวัยวะนั้นๆ เกิดจากการที่มีการใช้ Central pathway ร่วมกันของ Afferent neuron
Visceral pain
เป็นลักษณะของอาการปวด
ของVisceral peritoneum ทุกอวัยวะในช่องท้อง บอกตำแหน่งชัดเจนไม่ได้ กดเจ็บไม่ชัดเจน พอแยกออกเป็นส่วนต้น ส่วนกลาง ส่วนปลาย
สาเหตุ
-รักษาด้วยการผ่าตัดฉุกเฉิน
-รักษาด้วยยาเพียงอย่างเดียว
-เป็นการปวดที่เกิดจากอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงรักษาด้วยยาและการผ่าตัด
GI bleeding เลือดออกในทางเดินอาหาร
Lower gastrointestinal bleeding (LGIH)
อาการวิทยาที่พบได้บ่อยคือ ถ่ายเป็นเลือด (Hematochezia) ลักษณะอุจจาระเป็นเลือดในแบบต่างๆ สามารถอธิบายตำแหน่งของเลือดที่ออกได้
สาเหตุ
• โรคถุงน้ำดี
• โรคลำไส้อักเสบ
• มะเร็งลำไส้ใหญ่
• ริดสีดวงทวารและรอยแยกทางทวารหนัก
Upper gastrointestinal bleeding (UGIH)
อาการวิทยาของ UGIH คือ
• อาเจียนเป็นเลือดสด (Hematemesis)
• อาเจียนเป็นสีน้ำตาล (Coffee ground)
• ถ่ายดำ (Melena) หรือถ้าเลือดออกมากๆ ก็จะถ่ายเป็นเลือดสด (Hematemesis)
Diarrhea ท้องเสีย
เกณฑ์การประเมิน
• อุจจาระเหลว ≥ 3 ครัง/วัน
• อุจจาระมีมูกปนเลือด ≥ 1 ครัง/วัน •
Classification of diarrhea
• Acute < 2 weeks
• Persistent 2-4 weeks
• Chronic > 4 weeks
Mechanisms of diarrhea กลไล
-ท้องเสียเฉียบพลัน
-ท้องเสียแบบออสโมติก
-ลดการเคลื่อนไหว
-เพิ่มการเคลื่อนไหว
-พื้นที่ผิวลดลง (ออสโมติก, การเคลื่อนที่)
-การบุกรุกของเยื่อเมือก (อาการท้องร่วง)
กลุ่มอาการและโรคระบบทางเดินน้ำดี
Jaundice ดีซ่าน
Cholestasis jaundice
• เกิดจากการอุดตันของทางเดินน้าดีจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น Common bile duct stone, CA pancreas หรือ Cholangiocarcinoma เป็นต้น
Hepatocellular jaundice
• เกิดจากสาเหตุที่ตัวตับเอง มักมีค่า Direct bilirubin สูง, AST และ ALT สูง
Prehepatic jaundice
•มักเป็นโรคที่เกิดจากการสลายของRBCมากเกินไปเช่นHemolysisที่เกิดจากสาเหตตุ่างๆ
• Indirect bilirubin สูง, Liver enzyme ปกติ
Liver cirrhosis โรคตับแข็ง
คือภาวะเนื้อตับได้รับความเสียหายอย่างถาวรมีความแข็งตัวขึ้นจากพังผืดที่เกิดขึ้นภายในเนื้อตับ จากสาเหตุต่างๆ
ผลของตับแข็งมีดังนี้
• สร้างน้ำย่อยมาย่อยไขมันได้ลดลง
• กำจัดสารพิษจากทางเดินอาหารได้น้อยลง
• สร้างอาหารสะสม และโปรตีน Albumin น้อยลง
• สร้าง Coagulation factor ได้ลดลง
อาการแสดงของภาวะตับแข็ง
(ตับ)ต่อมใหญ่,ไข่ฝ่อ,พ่อมีเต้า, เจ้าแมงมุม,ปุ่มนิ้วงอก
Portal hypertension ภาวะที่มีความดันในระบบหลอดเลือดของตับสูงผิดปกติ
คือภาวะที่เลือดในระบบ Hepatic portal system มี แรงดันที่สูงขึนจากสาเหตุต่าง ๆ ที่ขวางกันทางเดิน ของ Portal system เช่น Portal vein thrombosis หรือ Liver cirrhosis เป็น
ผลลัพธ์ของ Portal hypertension ส่งผลหลายอย่าง
• Portosystemic venous shunt เกิดเส้นเลือดดำที่ ท้องขยายตัว(Caput medusae)
• ตับโตม้ามโต (Hepatosplenomegaly)
• เกิดเส้นเลือดที่หลอดอาหารโป่ง Esophageal varices
• ท้องมานน้ำ (Ascites)
กลุ่มโรคที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวผิดปกติของทางเดินอาหาร
Dysphagia อาการกลืนลำบาก
Esophageal dysphagia
พยาธิสภาพอยู่บริเวณหลอด อาหารตังแต่หูรูดหลอดอาหารส่วนบนจนไปถึง กระเพาะอาหารส่วน Cardia อาการกลืนลำบากแบบค่อยเป็นค่อยๆเป็นค่อยไป
ผู้ป่วย CA esophagus มัก
มี
น้ำหนักลดลงมาก
Oropharyngeal dysphagia
พยาธิสภาพอยู่บริเวณช่องคอ และ กล้ามเนือการกลืน จนถึงหูรูดหลอดอาหารส่วนบน
สาเหตุ
ที่พบบ่อยได้แก่ Stroke ที่ส่งผลต่อการอ่อน แรงของกล้ามเนือการกลืน
Functional dysphagia
เกิดจากกล้ามเนื้อหูรูดทางเดิน อาหารส่วนปลาย (Lower esophageal sphincter) ไม่สามารถคลายตัวได้ ทำให้อาหารและน้ำไม่สามารถไหลลงสู่กระเพาะอาหารได้เลย
ไม่สามารถกลืนอาหารและน้าได้เลยอย่าง เฉียบพลัน
Pyloric and intestinal obstruction การอุดตันทางเดินอาหาร
Large bowel obstruction
ภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนลำไส้ใหญ่
มักพบในคนสูงอายุ สาเหตุที่พบบ่อยคือ Colon cancer
ส่วนในเด็กมักเกิดจาก Sigmoid volvulus
อาการ
มักจะมาด้วย ไม่ถ่ายไม่ผายลม ท้องบวมโต อาเจียน บางครังจะอาเจียนเป็นอุจจาระ
Small bowel obstruction
ภาวะอุดตันของทางเดินอาหารส่วนลำไส้เล็ก
สาเหตุ
เนื้องอกร้าย ไส้เลื่อน ลำไส้บิด โรคลำไส้อักเสบ
อาการ
คลื่นไส้อาเจียน ไม่ถ่ายไม่ผายลม ปวดบิดท้อง มีไข้ในกรณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อน
)
Gastroesophageal reflux disease กรดไหลย้อน
กรดจากกระเพาะอาหารสามารถไหลย้อน เข้าสู่หลอดอาหาร และเกิดการระคายเคืองหลอด อาหารได้
พยาธิสภาพเกิดจาก ภาวะใดก็ตามที่ทำให้Lower esophageal sphincter เกิดการคลายตัว
อาการคือ จุกเสียดแน่นลินปี่ หรืออก มีอาการเรอ เปรียว ขมคอ