Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลชุมชน 1 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion School) -…
การพยาบาลชุมชน 1
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion School)
ความหมาย
องค์การอนามัยโลก
โรงเรียนที่มีขีดความสามารถ แข็งแกร่ง มั่นคง ที่จะเป็นสถานที่ที่มีสุขภาพอนามัยที่ดี เพื่อการอาศัย ศึกษา และทางาน
สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2547
โรงเรียนที่มีความร่วมมือร่วมใจกันพัฒนาพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพอย่างสม่าเสมอเพื่อการมีสุขภาพดีของทุกคนในโรงเรียน
องค์ประกอบของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
1.นโยบายของโรงเรียน
ข้อความที่กำหนดทิศทางส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน
2.การบริหารจัดการในโรงเรียน
การจัดองค์กรและระบบบริหารงานเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ
3.โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน
โครงการหรือกิจกรรมที่ดำเนินงานร่วมกันระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครองและสมาชิกชุมชน
4.การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การจัดการและปรับปรุงสภาพแวดล้อม ให้ถูกสุขลักษณะ
5.บริการอนามัยโรงเรียน
จัดให้มีบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่จำเป็น
6.สุขศึกษาในโรงเรียน
จัดกิจกรรมสุขศึกษาทั้งในหลักสูตรและผ่านทางกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
7.โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
ส่งเสริมให้ภาวการณ์เจริญเติบโตสมวัย
8.การออกกาลังกาย กีฬา และนันทนาการ
ส่งเสริมการออกกำลังกายให้เหมาะสม
9.การให้คาปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม
ให้คำปรึกษาและแนะแนวนักเรียนที่มีปัญหา
10.การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
จัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นบุคลากรให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลชุมชนในการบริการอนามัยโรงเรียน
1.การสร้างเสริมสุขภาพ
การตรวจสุขภาพนักเรียน
การให้ความรู้เรื่องการประเมินสุขภาพเบื้องต้นแก่ครูหรือนักเรียน
การลงบันทึกบัตรสุขภาพ
การส่งเสริมการออกกาลังกาย
2.การป้องกันโรค
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยจัดทาแผนในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การจัดสิ่งแวดล้อมในโรเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
3.การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
4.การฟื้นฟูสุขภาพ
หลักการดาเนินงานอนามัยโรงเรียน
1.การบริการอนามัยโรงเรียน (School health service)
การตรวจสุขภาพนักเรียน
1. การตรวจสุขภาพโดยแพทย์
นักเรียนที่เข้าใหม่ทุกคน
นักเรียนที่เรียนอยู่ชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 เนื่องจากเป็นนักเรียนที่จะจบการศึกษา
นักเรียนที่เป็นนักกีฬาของโรงเรียน
นักเรียนที่ป่วยหรือประสบอุบัติเหตุในโรงเรียนและได้รับการส่งต่อจากครูหรือพยาบาล
นักเรียนที่จะออกค่ายพักแรม
2.การตรวจสุขภาพของช่องปากโดยทันตแพทย์หรือทันตภิบาล
เป็นการส่งเสริมสุขภาพปาก ฟัน และรักษาโรคในช่องปากให้แก่นักเรียน
3.การตรวจสุขภาพโดยครู เป็นการตรวจสุขภาพนักเรียนในตอนเช้า (Morning inspection
) เพื่อสารวจความสะอาดของเสื้อผ้า ร่างกาย และความผิดปกติหรืออาการของโรคติดต่อบางอย่าง
4. การตรวจสุขภาพโดยพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
5. การตรวจสุขภาพของนักเรียนด้วยตนเอง
การชั่งน้าหนักและวัดส่วนสูง
1) น้าหนักตามเกณฑ์อายุ แสดงถึงภาวะพร่องโภชนากา
ร คือ น้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ หรือมีการพร่องด้านความสูง
2) ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ
แสดงระดับการเจริญเติบโตของเด็กได้ชัดเจนกว่ากราฟแสดงน้าหนักตามเกณฑ์อายุเพราะเด็กจะต้องไม่สูงเกินปกติ นอกจากคนที่มีความผิดปกติของฮอร์โมน
3) น้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
ใช้ประเมินภาวะโภชนาการการเกิน (อ้วน) และภาวะผอม ควรใช้ควบคู่กับการเทียบส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ
การทดสอบการได้ยิน
วิธีการทดสอบการได้ยิน
การทดสอบการได้ยินอย่างง่ายทาได้โดยให้ผู้ถูกตรวจหันหลังให้ผู้ตรวจ ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกันห่างจากหูประมาณ 1 นิ้ว แล้วถามผู้ถูกตรวจว่าได้ยินหรือไม่ ซึ่งในคนปกติจะสามารถได้ยินเสียง หรือทดสอบโดยให้ผู้ถูกตรวจยืนหันหลังห่างจากผู้ตรวน 5 ฟุต ให้ผู้ตรวจเรียกชื่อหรือผู้ถูกตรวจทาตามคาสั่งด้วยเสียงดังปกติ ถ้าผู้ถูกตรวจขานตอบหรือทาตามคาสั่งได้แสดงว่ามีการได้ยินปกติ การทดสอบการได้ยินอย่างง่ายต้องกระทาในห้องที่เงียบและให้นักเรียนเข้ามาทดสอบทีละคน การทดสอบดังกล่าวยังไม่เป็นที่รับรองว่าจะคัดเลือกนักเรียนที่มีความผิดปกติของการได้ยินได้อย่างแน่นอน
การตรวจร่างกาย
การวัดระดับสายตา (Visual Acuity)
วิธีการวัดระดับสายตา
1. วัดตาเปล่า
1) กรณีสายตาปกติ
ให้ผู้ตรวจยืนหรือนั่งเก้าอี้ที่ระยะ 20 ฟุต หรือ 6 เมตร ขณะอ่านให้นั่งตัวตรง
ห้ามโน้มตัวไปข้างหน้า ห้ามเอียงตัว
วัดสายตาทีละข้าง ให้วัดข้างขวาก่อน อีกข้างที่เหลือให้ใช้ที่ปิดตาทึบแสง
อ่านเลขบนแผ่นป้ายตั้งแต่แถวที่ 1 อ่านไปเรื่องๆ จนถึงแถวที่ 7 ถ้าอ่านได้ครบทุกตัวทุกแถว แสดงว่าสายตาปกติ ให้บันทึกว่า SC 20/20 หรือ 6/6 (หมายถึง ผู้ป่วยเห็นในระยะ 6 เมตร และคนปกติเห็นที่ระยะ 6 เมตรเช่นกัน) เสร็จสิ้นการวัดข้างขวา ให้วัดข้างซ้ายต่อในแบบเดียวกัน
2) กรณีสายตาผิดปกติ
กรณีที่ 1
ปฏิบัติตามข้อ 1- 3 ข้างต้นโดยถ้าอ่านถูกต้องมากกว่าครึ่งในแต่ละแถวให้อ่านไปเรื่อยๆ จนแถวใดแถวหนึ่งอ่านผิดมากกว่าครึ่ง หรืออ่านไม่ได้เลย
ก. อ่านแถวที่ 5 (มี 5 ตัว) อ่านผิด 2 ตัว ให้อ่านต่อในแถวที่ 6
ข. อ่านแถวที่ 6 (มี 6 ตัว) อ่านผิดมากกว่า 2 ตัว แสดงว่าแถวที่ 6 ไม่ผ่าน
ค. การบันทึก SC SC 20/40 ยกกำลัง -2 หรือ 6/12 ยกกำลัง -2
กรณีที่ 2
ก. อ่านแถวที่ 5 (มี 5ตัว) อ่านถูกหมดทุกตัว ให้อ่านต่อในแถวที่ 6
ข. อ่านแถวที่ 6 (มี 6 ตัว) อ่านถูก 3 ตัว
ค. การบันทึก SC 20/40 ยกกำลัง +3 หรือ 6/12 ยกกำลัง +3
2.การวัดผ่าน pinhole(PINHOLE VA)
หลักการมองผ่าน Pinhole
การมองผ่านรูเล็กๆ มักช่วยให้การมองเห็นดีขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่มีสายตาผิดปกติ (Refractive errors) pupil ปกติจะมีขนาด 3-4 มม. ถ้ามีขนาดโต ความคมชัดของภาพจะลดลง เพราะแสงที่ไปตกบนจอประสาทตาจะมีขนาดกว้าง การมองผ่าน pinhole คล้ายกับทาให้รูม่านตาใหม่มีขนาดเล็กลง จะช่วยบีบลาแสงที่ผ่านเข้าตาให้แคบ และแสงที่ไปตกบนจอประสาทตาเป็นจุดหรือขนาดเล็กลง เป็นการเพิ่มความลึกในการโฟกัส (depth of focus) ทาให้ภาพคมชัดมากขึ้น โดยทั่วไป pinhole มีขนาด 1.2 มิลลิเมตร หากเล็กกว่านี้จะเห็นภาพไม่ชัด
ถ้าผู้ป่วยอ่านได้ไม่ถึงแถว 20/20 หรือ 6/6 ให้อ่านผ่าน Pinholeการบันทึก
3.การสวมแว่นตา
(เฉพาะแว่นสายตาสาหรับมองระยะไกลเท่านั้น ถ้าแว่นสาหรับอ่านหนังสือของคนอายุ 40 ปีขึ้นไปจะใช้ไม่ได้)
กรณีที่ผู้ป่วยสวมแว่นสายตาในขั้นตอนแรกให้อ่านด้วยตาเปล่าก่อน ถ้าอ่านไม่ได้ถึงแถว 6/6 ให้สวมแว่นสายตาอ่าน และอ่านผ่านpinhole อ่านต่อ โดยวาง pinhole วางไว้หน้ากระจกแว่นสายตา
VA sc 6/60 (sc = without correction)
VA cc 6/36 (cc = with correction)
VA c PH 6/6 (c PH = with pinhole)
4.การเลื่อนระยะทาง
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถอ่านได้ในแถวแรก ให้เลื่อนระยะทางเข้าไปครั้งละ 1 เมตร กรณี
ที่อ่านได้ในระยะ 5 เมตร ให้บันทึก VA 5/60 อ่านได้ที่ระยะ 1 เมตร บันทึกว่า VA 1/60
5. กรณีที่อยู่ในระยะ 1 เมตรแล้วยังไม่สามารถอ่านได้
ให้ผู้ตรวจชูนิ้วไว้หน้าผู้ป่วย แล้วถามว่านับได้กี่นิ้ว เช่นหากนับนิ้วได้ถูกต้องที่ระยะ 2 ฟุต ให้บันทึกว่า FC 2 ft. (FC = counting finger)
หากยังนับนิ้วไม่ได้ ให้ผู้ตรวจแกว่งมือแล้วถามว่าเห็นอะไรเคลื่อนไหวหรือไม่ ถ้าเห็นให้บันทึกว่า HM (Hand movement)
หากมองไม่เห็นวัตถุเคลื่อนไหว ให้ใช้ไฟฉายส่องหน้าตาผู้ป่วย แล้วถามว่าเห็นแสงไฟหรือไม่ ถ้าเห็นให้บอกทิศทางของแสง ถ้าสามารถบอกทิศทางได้ให้บันทึกว่า PJ (projection of light) ถ้าไม่สามารถบอกทิศทางได้ให้บันทึกว่า PL (perception of light)ถ้ามองไม่เห็นแสงเลย ให้บันทึกว่า No PL (no light perception)บ่งบอกว่าบอดสนิท
การวัดสายตาโดยใช้ LEA chart
คือแผ่นทดสอบระดับสายตาสาหรับวัดสายตาในเด็กเล็กมีลักษณะเป็นรูปภาพ สี่เหลี่ยม วงกลม บ้าน และแอปเปิ้ล โดยมีจานวน 5 ภาพในแต่ละแถว แถวบนสุดภาพจะมีขนาดใหญ่ที่สุดและขนาดค่อยๆ ลดลงในแถวถัดไปเหมือน Snellen chart
เตรียมสถานทีสาหรับวัดสายตาเด็กเล็กโดย ติดแผ่น หรือ ‘Lea Chart’ บนผนัง โดยให้ตัวเลขแถวที่ 5 หรือแถว 40 ฟุต (20/40) อยู่ในระดับเดียวกับตาของเด็กที่มีระดับความสูงเฉลี่ย (ขณะอยู่ในท่าทดสอบ)
เริ่มการทดสอบทีละตา เริ่มจากตาขวา ใช้ไม้ปิดตาข้างซ้ายให้มิด โดยไม่ต้องหลับตาหรือหรี่ตาข้างซ้าย
ให้เด็กอ่านภาพจากแถวตัวบนสุดก่อนจากนั้นค่อยๆอ่านภาพแถวถัดมาจนกระทั่งไม่สามารถอ่านภาพ
ได้ หรือใช้วิธี MatchingTechnique (ให้เด็กชูสัญลักษณ์ที่เห็น)
การอ่านและแปลผล Lea Chart นั้นวิธีการอ่านที่คล้ายกับ Snellen Chart คือหากอ่านภาพตั้งแต่แถวที่ 1 ไม่ได้ ให้จดบันทึกว่า “<20/200 (6/60)” หมายถึง เห็นน้อยกว่า 20/200 (6/60)
Lea Chart ในแต่ละแถวมีจานวนภาพเท่ากันคือ 5 ภาพ (หรืออักษร) ดังนั้น ต้องอ่านภาพได้อย่างน้อยเท่ากับ 3 ภาพจึงถือว่าอ่านภาพแถวนั้นได้ โดยแถวใหญ่สุดคือ 20/200, 20/100, 20/70, 20/50, 20/40,20/30 และ 20/20 ตามลาดับ
วิธีบันทึกระดับการเห็นนั้นใช้หลักการเดียวกันกับ Snellen chart ทุกประการ
การคัดกรองภาวะตาบอดสี
ขั้นตอนการตรวจ
ก่อนตรวจพยาบาลชุมชนควรซักถามประวัติครอบครัวของนักเรียนว่ามีการเจ็บป่วยหรือมีประวัติเกี่ยวกับความบกพร่องในการมองเห็นสีหรือตาบอดสีของคนในครอบครัวหรือไม่
ในการเตรียมตัวก่อนการทดสอบ หากนักเรียนที่ใส่แว่นหรือคอนแทคเลนส์อยู่เดิมก็ให้ใส่เป็นปกติในระหว่างการตรวจ
ให้นักเรียนผู้เข้ารับการตรวจในห้องที่มีความสว่างตามปกติและให้ปิดตาหนึ่งข้าง ส่วนตาข้างที่ไม่ได้ปิดก็ให้มองไปที่ภาพที่ใช้ทดสอบ โดยในแต่ละภาพจะจุดสีที่แตกต่างกันไปที่ซ่อนตัวเลขหรือเส้นเอาไว้
ให้นักเรียนผู้เข้ารับการตรวจแยกแยะและบอกถึงตัวเลขหรือเส้นไปตามลาดับภาพทีละภาพจนครบ ถ้าสามารถตอบได้ถูกต้องก็แสดงว่าการมองเห็นสีมีความปกติ แต่หากมีความบกพร่องในการมองเห็นสี ผู้เข้ารับการตรวจก็จะไม่สามารถมองเห็นหรือแยกแยะได้หรือบอกผิด
ลงบันทึกการตรวจ
การตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
โรคฟันผุ
เกิดจากการเสียสมดุลระหว่างแร่ธาตุในน้าลายและแร่ธาตุบนตัวฟัน โดยมีเชื้อจุลินทรีย์เป็นต้นเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดสภาวะเป็นกรด ทาให้ฟันเป็นรูและสามารถลุกลามจนทาให้สูญเสียฟัน
วิธีตรวจสุขภาพช่องปาก
ทาได้โดยจัดให้นักเรียนนั่งหันหน้าเข้าหาแสงสว่าง ผู้ตรวจยืนหรือนั่งหันหน้าเข้าหานักเรียนโดยให้หน้าคนที่ถูกตรวจอยู่ในระดับสายตา การตรวจฟันบน ให้นักเรียนเงยหน้าอ้าปาก ถ้าเห็นไม่ชัดผู้ตรวจใช้นิ่วมือช่วยดันริมฝีปากบนขึ้น การตรวจฟันล่าง ให้นักเรียนก้มหน้าอ้าปาก ถ้าเห็นไม่ชัดผู้ตรวจใช้นิ้วมือช่วยดึงริมฝีปากล่างลง
การบันทึกสุขภาพนักเรียน
การบันทึกสุขภาพนักเรียนทางโรงเรียนจะต้องจัดให้มีบัตรบันทึกประจาตัวนักเรียนที่เรียกว่า สศ.3 (สามัญศึกษา 3) ไว้ประจาตัวนักเรียนทุกคนตั้งแต่เริ่มเข้าเรียนชั้น ป.1 และใช้ได้ตลอดระยะเวลาการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้บันทึกประวัติทั่วไป ประวัติการเจ็บป่วย การเจริญเติบโต การบริการที่นักเรียนไดรับจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เช่น การตรวจสุขภาพ ความผิดปกติเกี่ยวกับสุขภาพ การรักษาพยาบาล การติดตามผลการรักษาและการสร้างเสริมภูมิคุ้นกันโรค
การให้การรักษาพยาบาลให้สุขศึกษา และติดตามผล
ภายหลังการตรวจสุขภาพ เมื่อพบปัญหาที่สามารถให้การช่วยเหลือได้ ควรจัดยามอบไว้ให้ที่ครูประจาชั้น และเขียนคาแนะนาถึงผู้ปกครองเกี่ยวกับปัญหาที่พบและการปฏิบัติตัว
ความหมาย
การที่โรงเรียนจัดให้มีบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับนักเรียนทุกคน เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ การป้องกันโรค และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
2.การสอนสุขศึกษาในโรงเรียน (School health education)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เด็กวัยเรียนและเยาวชนมีทักษะสุขภาพ (Health Skills) และ ทักษะชีวิต (Life Skills)
เพื่อให้เด็กวัยเรียนและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมติดตัวไปสู่วัยผู้ใหญ่
การจัดสุขศึกษาในโรงเรียนควรใช้แนวทางดังนี้
1.จัดสุขศึกษาให้สอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจ สังคม ครอบครัว และชุมชนของเด็กนักเรียน
จัดอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สอดคล้องกับการสอนสุขศึกษา
ควรประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของโรงเรียนและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเป็นประโยชน์ต่อเด็กนักเรียน
การจัดกิจกรรมระหว่างบ้านและโรงเรียนควรสอดคล้องกันเพื่อเป็นประโยชน์ในการสอนสุขศึกษา
วิธีการสอนสุขศึกษาในโรงเรียน
การจัดสอนโดยตรง
การสอนแบบสหสัมพันธ์ โดยสอนสัมพันธ์กับวิชาอื่นในหลักสูตร
การสอนตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เป็นการสอนให้เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วง เวลานั้น ๆ
เรื่องที่ควรสอนสุขศึกษาในโรงเรียน
ระดับประถมศึกษา
ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย
กินอาหารที่สุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด
งดสูบบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนันและการสาส่อนทางเพศ
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอและตรวจสุขภาพประจาปี
ทาจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
มีสานึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม
ระดับมัธยมศึกษา
การเลือกซื้ออาหาร
การไม่กินอาหารที่มีสารอันตราย
การหลีกเลี่ยงสารเสพติด
การป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย
การหลีกเลี่ยงการพนัน เที่ยวกลางคืน
การจัดการกับความเครียด
การหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
3.อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน (Healthful school living)
หลักการดาเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
สถานที่ตั้ง
2.อาคารเรียน
พื้นที่ใช้สอยและอุปกรณ์เครื่องใช้
การระบายอากาศ แสงสว่างและเสียง
น้าดื่มน้าใช้
การจัดการขยะ
การจัดการน้าเสีย
การควบคุมและกาจัดแมลง สัตว์พาหนะนาโรค
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงเรียน
4.ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและบ้าน (School and Home Relationship)
ร่วมวิเคราะห์สภาพและสาเหตุของปัญหา
ร่วมวางแผน
ร่วมดาเนินการ
ร่วมตรวจสอบ ทบทวน พัฒนาและปรับปรุง
โครงการร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนก่อให้เกิดผลลัพธ์ในทางที่พึงประสงค์
1.การที่ผู้ปกครอง และสมาชิกของชุมชนมีส่วนร่วมในขั้นตอนต่าง ๆ ของการดาเนินงานก่อให้เกิดการเรียนรู้เรื่องสุขภาพ นาไปสู่เจตคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสม
โรงเรียนและชุมชนได้เอื้อประโยชน์ต่อกันในด้านการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริมสุขภาพ การแลเปลี่ยนความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และการแลกเปลี่ยนข้อคิดที่สร้างสรรค์
ปัญหาสุขภาพรับการการแก้ไขหรือปรับปรุง อย่างสอดคล้องกับสภาพปัญหาของแต่ละท้องถิ่น
ผู้ปกครองและชุมชนเห็นประโยชน์และเกิดความรู้สึกร่วมมือเป็นเจ้าของโครงการส่งเสริมสุขภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือกับโรงเรียนในด้านต่าง ๆ นาไปสู่ชุมชนเข้มแข็งและการพัฒนาที่ยั่งยืน