Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติและจริยธรรมในนการดูแลผู้สูงอายุ - Coggle…
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติและจริยธรรมในนการดูแลผู้สูงอายุ
1.เส้นทางนโยบายกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
ภาพลักษณ์ผู้สูงอายุไทยที่พึงปรารถนา
มีสุขภาพกายและจิตที่ดี
อยู่ในครอบครัวและสังคมอย่างมีความสุข
พึ่งตนเองได้ มีความสุข เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของครอบครัวและสังคม
มีหลักประกันมั่นคง ได้รับสวัสดิการและบริการที่เหมาะสม
มีความรู้และมีโอกาสได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรการด้านสุขภาพ ต้องเน้นบริการเข้าถึงตัวผู้สู.อายุในเชิงรุก การบริการระดับชุมชนและการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
เส้นทางของนโยบายกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
พ.ศ. 2525 จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ครั้งแรก, วันที่13เมษายน ของทุกปี เป็นวันผู้สูงอายุแห่งชาติ, แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่1
พ.ศ. 2540 มีมาตราที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ2มาตรา ได้แก่ มาจรา54และมาตรา80วรรค2
พ.ศ. 2541 มีการรับรองปฏิญญามาเก๊า
พ.ศ. 2542 เสนอให้รัฐบาลจัดทำ ปฏิญญาผู้สูงอายุเพื่อเป็นพันธกรณี
พ.ศ. 2545 จัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่2
พ.ศ. 2546 จัดทำและประกาศใช้พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2550 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
2.กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้สูงอายุไทย
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย เป็นพันธกรณีเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้รับการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา54 ได้บัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุให้มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่1 พ.ศ.2525-2544 แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่1มองว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่ได้ทำคุณประโยชน์ต่อสังคมและสมควรได้รับการตอบแทน
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่2 พ.ศ.2545-2564 ถูกร่างขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุต่อจากแผนผู้สูงอายุฉบับที่1มีลักษณะเป็นแผนที่มีการบูรณาการ มรการกำหนดมาตรการ ดัชนีและเป้าหมายของมาตรการต่างๆอย่างชัดเจน
ยุทธศาสตร์ ถูกกำหนดขึ้นมีลักษณะบูรณาการและครอบคลุมในทุกมิติเพื่อให้ประชาชนเตรียมการเข้าสู่ผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่1 ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่2 ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่3 ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่4 ด้านการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติและการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่5 ด้านการประมวล และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุและการติดตามประเมินผล
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่2 2545-2564 ปรับปรุงครั้งที่1
ยุทธศาสตร์ที่1 หลักประกันรายได้เพื่อวัยสูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่2 การส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่3 ระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่4 การบริหารจัดการเพื่อเพิ่มการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่5 การประมวล พัฒนา และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ
สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ
การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
การมีส่วนร่วม
การอุปการะเลี้ยงดู
การบรรลุความต้องการ
ความมีศักดิ์ศรี
กฎหมายนโยบายอื่นๆของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมของประชากรเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ
4.ปีพ.ศ.2539 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
5.ปีพ.ศ.2554 พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ(กอช.)
6.ปีพ.ศ.2544 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
3.ปีพ.ศ.2533 พระราชบัญญัติประกันสังคม
2.ปีพ.ศ.2530 พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
7.ปีพ.ศ.2547 กองทุนรวมหุ้นระยะยาว
1.ปีพ.ศ.2471 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ให้ความเคารพยกย่อง
ยอมรับความสุงอายุว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงตามวงจรชีวิตมนุษย์
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุคงความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายและดูแลตนเอง
ปฏิบัติโดยใช้หลัก เมตตา กรุณา อมุทิตา อุเบกขา
ปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้สูงอายุอย่างเท่าเทียม
ศึกษาหาความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการ
รักและศรัทธาในวิชาชีพ
ประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
พินัยกรรม, พินัยกรรมชีวิต
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
เมตตามรณะ
การทำทารุณกรรมผู้สูงอายุ