Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอาย - Coggle Diagram
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอาย
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดปัญหาการใช้ยา
ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวผู้สูงอายุ ได้แก่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
ปัจจัยด้านพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุ ประกอบด้วย การใช้ยาด้วยตนเอง ความร่วมมือในการใช้ยา
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจท าให้เกิดผลข้างเคียงหรืออันตราย ยาที่เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างยาและการพยาบาล
ยาระงับปวดและลด
การอักเสบ (analgesic and
anti-inflammatory drugs)
ผลข้างเคียง กดศูนย์การหายใจ แผลในระบบทางเดิน
อาหาร พิษต่อไตและตับ กระดูกพรุน/หัก
สับสน ความจำเสื่อม
การพยาบาล พยาบาลควรติดตามการวัดสัญญาณชีพ
ผู้สูงอายุโดยเฉพาะการหายใจ สังเกตอาการเกิดแผลในทางเดินอาหาร
ยาต้านโรคจิตและ
โรคซึมเศร้า (antipsychotic
and antidepressant drugs)
ผลข้างเคียง พิษต่อระบบประสาท ความจำเสื่อม
เฉียบพลัน
การพยาบาล ห้ามใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายจาก
หลอดเลือดอุดตัน พยาบาลควรระวังอาการ postural
hypotension หลงลืม
ยาต้านจุลชีพ (antimicrobial drugs )
ผลข้างเคียง มีพิษต่อไตมาก
การพยาบาล ควรให้อย่างช้าๆ เฝ้าระวัง
อาการแสดงของไตวาย
ยาที่มีผลต่อหัวใจ
และหลอดเลือด (cardiovascular drugs)
ผลข้างเคียง โปแตสเซียมต่ำ น้ำตาลในเลือดและกรดยูริคสูง หน้ามืดเป็นลมเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ
การพยาบาล หากจจเป็นต้องให้ยากลุ่มนี้ในผู้สูงอาย พยาบาลควรสังเกตภาวะโปแตสเซียมต่ำ ควรแนะนำหรือกระตุ้นให้
ผู้สูงอายุออกกำลังกาย แนะนำให้ผู้สูงอายุดื่มน้ำ
มาก ป้องกันท้องผูก
ยาลดความดัน
โลหิตสูง (antihypertensive agent)
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำลงขณะเปลี่ยนท่า นั่ง นอนมาเป็นยืน ส่งผลให้เกิดการพลัดตกหกล้ม
การพยาบาล ควรติดตามระดับความดันโลหิต
อย่างสม่ำเสมอ เฝ้าระวังการพลัดตกหก
ล้มจากการเปลี่ยนท่า
ยาลดระดับน้ำตาล
ในเลือด (hypoglycemicagent)
ผลข้างเคียง ภาวะน้ำตาลต่ำ
ภาวะโซเดียมต่ำ ขาดสารอาหารและแร่ธาตุ
การพยาบาล ผู้สูงอายุควรหลีกเลี่ยง หากจำเป็นต้องใช้ยากลุ่มนี้ ควรสังเกตอาการแสดงของภาวะน้้ำตาลในเลือดต่ำ
ยากันชัก (anti
convulsant)
ผลข้างเคียง ทำให้เกิดภาวะพร่อง
วิตามินดี เกิดกระดูกเปราะ
ยานอนหลับ
(hypnotic drugs)
ผลข้างเคียง ง่วงงุนงง สับสน กดประสาทส่วนกลาง กดศูนย์การหายใจ
การพยาบาล ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม ควรหลีกเลี่ยงยากลุ่มนี้ และผู้สูงอายุที่มีโรคปอดเพราะทำให้กดการหายใจจนอาจหยุดหายใจได้
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลวิทยาในผู้สูงอายุ (Phamacologicalchang in elderly)
เภสัชจลศาสตร์ (Pharmacokinetic) คือการศึกษาถึงวิธีการที่ร่างกายจัดการกับยาที่ได้รับเข้าไปซึ่งได้แก่
การดูดซึมยา (drug absorption)
การกระจายยาไปสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย (drugdistribution)
เมตะบอลิสึมของยาโดยตับ (drug metabolism)
การขับถ่ายยาทางไต (renal excretion)
เภสัชพลศาสตร์ (Phamacodynamic change) คือ การศึกษาการออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย (what drug does to the body) หรือการที่ยามีผลต่อร่างกายเกี่ยวข้องทั้งผลทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยาของยา กลไกที่ท าให้เกิดผลทั้งด้านที่พึงประสงค์คือฤทธิ์ในการรักษา และผลที่ไม่พึงประสงค์คือ
อาการข้างเคียงและพิษของยา
แนวปฏิบัติของพยาบาลในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างถูกต้องในผู้สูงอาย
อธิบายความหมายของค าที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา เช่น ก่อนอาหาร 15 นาที หลังอาหาร 30 นาที ยาอมใต้ลิ้น ยาพ่นในจมูก แนวทางในการใช้ยาที่ถูกต้อง
อธิบายเกี่ยวกับการเสื่อมสภาพและการหมดอายุของยา
ให้ความรู้เกี่ยวกับจุดประสงค์ในการให้ยาแต่ละชนิด การออกฤทธิ์ของยา อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น
จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย
ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในวัยสูงอายุ (aging process) ที่ส่งผล
กระทบต่อกระบวนการดูดซึม การกระจายตัวของยา เมตะบอลิสึมของยา การขับถ่ายยาทางไต
ประเมินครอบครัว ผู้ดูแลที่ใกล้ชิดผู้สูงอายุเกี่ยวกับความรู้ของการใช้ยาพร้อมทั้งให้ความรู้
ให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบการใช้ยาหลายชนิด ค่าใช้จ่าย การใช้ยาสมุนไพรที่ไม่หรือยาหลายชนิดที่ไม่สมเหตุสมผล
แนะนำผู้สูงอายุ และญาติให้ปรึกษาแพทย์และเภสัชกรทุกครั้ง ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง
ประเมินความเข้าใจของผู้สูงอายุเกี่ยวกับการใช้ยา ความฉลาดของผู้สูงอายุในการใช้ยาความเชื่อในการใช้ยา
ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีส่วนสนับสนุนการดูดซึมยา การกระจายตัวของยา
ประเมินเกี่ยวกับประวัติการใช้ยาของผู้สูงอายุอย่างครอบคลุม ด้วยการซักประวัติเกี่ยวกับการใช้ยาในประเด็นต่างๆ
จัดโปรแกรมการสอนเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างถูกต้องสมเหตุสมผล
ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอาย
การใช้ยาหลายชนิดร่วมกันหลายขนาน (polypharmacy)
ความผิดพลาดจากตัวผู้ใช้ยา (human error) ได้แก่ การซื้อยามารับประทานเองการรับประทานยาที่หมดอายุ ความเชื่อเรื่องการรับประทานยาสมุนไพร
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากกระบวนการชราที่ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดผลข้างเคียงจากยา