Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด, นางสาวอรพิน เรียนรัตน์…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด
1.การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
(Early postpartum hemorrhage)
การวินิจฉัย
2.ประเมินปริมาณเลือดที่ออกมาหลังคลอด
3.ตรวจร่างกาย v/s อาการแสดงของการเสียเลือด
4.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
5.ประเมินการฉีกขาดของช่อง คลอดและปากมดลูก
6.ตรวจรก เยื่อหุ้มรก
7.ตรวจสอบการแข็งตัวของเลือด
8.ประเมินสาเหตุของภาวะช็อก
1.ซักประวัติ
การป้องกัน
การดูแลในระยะที่ 3 ของการคลอด
Uterine massage
Check placenta
Control cord traction
Check for tear
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก Oxytocin 10 unit
อาการและอาการแสดง
ถ้ามากกว่าหรือเลือดไหลออกมาเรื่อยๆ คลำไม่พบยอดมดลูก มดลูกนุ่ม
ความดันโลหิตลด ชีพจรเบาเร็ว วิงเวียน ตัวเย็น เหงื่อออก
ปกติลหลังคลอดจะมีเลือดออกทางช่องคลอดประมาณ 50-80 ml./ซม.
บางรายปวดบริเวณสีเย็บและทวารหนักรุนแรง
แนวทางการรักษา
2.ทางเลือกของการรักษา
3.ความต้องการมีบุตรในอนาคต
1.สาเหตุของการตกเลือด
สาเหตุ
3.Trauma การบาดเจ็บของช่องทางคลอด
มดลูกแตก เคยผ่าตัดมดลูก
มดลูกปลิ้น
คลอดบุตรหลายคน
รกเกาะบนยอดมด
ทำคลอดรกผิดวิธี
การฉีกขาดของแผลผ่าตัดมดลูกเดิม
การฉีกขาดของปากมดลูก ช่องคลอด แผลฝีเย็บ
2.Tissue มีชิ้นส่วนของการตั้ง ครรภ์ค้างในโพรงมดลูก
ชิ้นส่วนของรกค้าง เศษรกค้าง รกน้อยค้าง
ก้อนเลือดค้าง
มดลูกไม่หดรัดตัวเลือดออกจับเป็นก้อน
4.Thrombin การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ได้รับยาระงับการแข็งตัวของเลือด
โรคที่พบภายหลังการตั้งครรภ์
ITP
เกร็ดเลือดต่ำจากภาวะ Pre-eclampsia
DIC
1.Tone มดลูกหดรัดตัวไม่ดีเป็น สาเหตุของการตกเลือดมากที่สุด
มดลูกมีรูปร่างหรือทำงานผิดปกติ
ติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
กล้ามเนื้อมดลูกอ่อนแรง
มดลูกขยายตัวมากกว่าปกติ
การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
(Late postpartum hemorrhage)
อาการและอาการแสดง
มดลูกนุ่มหดรัดตัวไม่ดี
การลดระดับลงของมดลูกล่าช้า
มีเลือดออกทางช่องคลอดมากขึ้นหลายวัน
ถ้ามีการติดเชื้อ
น้ำคาวปลาสีแดง
ปวดหลัง อ่อนเพลีย วิงเวียน
ไข้ต่ำๆ น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายดูอาการแสดงของการเสียเลือด
ตรวจหน้าท้องดูขนาดมดลูก
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ตรวจภายในดูลักษณะน้ำคาวปลา
ซักประวัติเกี่ยวกับการเก็บครรภ์คลอด
ตรวจขึ้นเสียงความถี่สูงผ่านหน้าท้อง เพื่อวินิจฉัยขึ้นส่วนของรกค้าง
ปัจจัยส่งเสริมที่ทำให้เกิดการตกเลือด หลังคลอดระยะหลัง
มีภาวะรกติด
การลอกตัวของรกล่าช้า
มีเนื้องอกในโพรงมดลูก
เศษรกค้างภายในโพรงมดลูก
เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การรักษา
กรณีที่มีเลือดออกมาก
ถ้าเลือดไม่หยุด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Oxytocin
Methylergometrine
ให้น้ำเกลือหรือให้เลือด
รักษาตามสาเหตุ
ขูดมดลูกในกรณีที่มีรกค้าง
กรณีเลือดไหลไม่หยุด
ผ่าตัดผูกเส้นเลือดมดลูก
ตัดมดลูกออก
ให้ยาปฏิชีวนะ
สาเหตุ
มีการอักเสบในโพรงมดลูก
มีเนื้องอกของมดลูก
มีชิ้นส่วนของรกค้างในโพรงมดลูก
มดลูกเข้าอู่ช้า
การพยาบาล
5.ให้ยาที่ช่วยในการบีบรัดตัวของมดลูก
6.ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการดูแลความสะอาดของร่างกาย การรับประทานอาหาร
4.ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
7.แนะนำให้ครอบครัวสนับสนุนช่วยเหลือ
3.ถ้ามีการติดเชื้อ check v/s ทุก 4 ชม.
8.ถ้าต้องผ่าตัดต้องเตรียมมารดาทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
2.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
9.ให้กำลังใจ
1.สังเกตการหดรัดตัวของมดลูกหรือปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในระยะหลังคลอด
3.การกลับสภาพเดิมของมดลูกล่าช้า
(Subinvolution of uterus)
การติดเชื้อหลังคลอด
(Postpartum infection)
การติดเชื้อของเต้านม มดลูก แผล ระบบทางเดินปัสสาวะ หลอดเลือดดำ
2.การมีเลือดคั่งบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ (Postpartum genital hematomas)
ภาวะผิดปกติทางด้านจิตสังคมระยะหลังคลอด
5.2 ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
5.3 โรคจิตหลังคลอด
5.1 อารมณ์เศร้า
1.การตกเลือดหลังคลอด (Postpartum hemorrhage)
ความหมาย
• การผ่าตัดคลอดทารกทางหน้า ท้องน่ากว่า 1,000 ml.
• การสูญเสียเลือดทางช่องคลอดมากกว่า 500 ml.
ชนิดของการตกเลือดหลังคลอด
1.การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก (Early postpartum hemorrhage)
เป็นการตกเลือดใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
2.การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
(Late postpartum hemorrhage)
เป็นการตกเลือดภายหลัง 24 ชั่วโมงไปจนถึงหกสัปดาห์หลังคลอด
นางสาวอรพิน เรียนรัตน์ เลขที่ 66 611001403498