Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภไข่ปลาอุก (Molar Pregnancy หรือ Hydatidiform mole),…
การตั้งครรภไข่ปลาอุก (Molar Pregnancy หรือ Hydatidiform mole)
การประเมินและวินิจฉัย
1.การชักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
แยกการตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
ออกจากการแท้งได้
จากการตรวจอัลตราซาวด์
โดยจะตรวจพบลักษณะ ดังนี้
ลักษณะของ complete mole ที่พบ ได้แก่ snow storm pattern ไม่พบถุงการตั้งครรภ์หรือทารก
ไม่มีน้ำคร่ำ และ พบถุงน้ำรังไข่ทั้ง 2 ข้าง
2.ลักษณะของ partial mole ที่พบ ได้แก่ ตรวจพบ cystic spaces เฉพาะที่ในเนื้อรก พบส่วนของทารก
พบมีน้ำคร่ำแต่อาจมีปริมาณลดลง และไม่พบถุงน้ำรังไข่
ความหมาย
เป็นโรคของเนื้อรก(gesstational trophoblastic disease [GTD])ชนิดหนึ่งที่เกิดจากความแปรปรวนทางพันธุกรรมในเนื้อรก ทำให้รก (chorionic vill) เสื่อมสภาพกลายเป็นถุงน้ำเล็กๆ
ใสๆ เกาะเป็นกระจุก คล้ายพวงองุ่น ซึ่ง GTD เป็นกลุ่มโรคที่
เกิดขึ้นสืบเนื่องจากการตั้งครรภ์ ที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของ pacental trophoblast โดยโรคกลุ่มนี้แบ่งออกเป็น
2 ประเภท ดังนี้
Benign GTD ได้แก่ ครรภ์ไข่ปลาอุก
แบ่งเป็น complete mole และ partial mole
Malignant GTD รวมเรียกเป็นมะเร็งเนื้อรก (gestational trophoblastic tumor/neoplasia)
ชนิดครรภ์ปลากอุก
1.ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้ำทั้งหมดอย่างเดียว
(Complete hydatidifrom mole)
จะมีเฉพาะเนื้องอกของเนื้อรกทั้งหมด ไม่มีตัวทารก
และมีโอกาสเปลี่ยนไปเป็นมะเร็งไข่ปลาอุกได้ประมาณ 25%
2.ครรภ์ไข่ปลาอุกร่วมกับมีทารกหรือส่วนของทารกอยู่ด้วย
(Partial หรือ incomplete hydatidifrom mole)
จะเป็นทารกที่ผิดปกติที่ไม่สามารถมีชีวิตและเจริญเติบโตได้
และมีโอกาสเปลี่ยนไปเป็นมะเร็งไข่ปลาอุกได้ประมาณ 3-6%
.
สาเหตุ
1.ขาดสารอาหาร
2.การตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 16 ปี
3.การตั้งครรภ์อายุมากกว่า 40 ปี
4.มีประวัติแท้งเองมากกกว่า 2 ครั้ง
5.ดูแลสุขภาพก่อนตั้งครรภ์ไม่ดีพอ
เช่น ดื่มสุราหรือสูบบุหรี่จัด
6.คนในครอบครัวคุณแม่
มีประวัติภาวะครรภ์ไข่ปลาอุก
พยาธิสภาพ
เป็นการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ trophoblasts เฉพาะที่ในโพรงมดลูกและไม่มีการลุกลามไปที่อื่น โดยชนิด completeพบตัวอ่อนหรือถุงน้ำคร่ำ ไม่มีการพัฒนาหลอดเลือดไปเลี้ยง chorionic villi
จึงไม่พบเส้นเลือดทารกใน villi ทำให้ฝ่อ เสื่อมสลาย และบวมน้ำ
มีลักษณะเป็นกระจุกของถุงน้ำ คล้ายพวงองุ่น มีขนาดตั้งแต่
ไม่กี่มิลลิเมตร ถึง 2-3 cm. แต่ยังมีการไหลเวียนเลือดด้านมารดา
ทีส่งผ่านมาทาง Spiral arteriole เข้าสู่ intevillous space เลือดขังอยู่ในส่วนเนื้อเยื่อที่เป็นครรภ์ไข่ปลาอุกในโพรงมดลูก ส่วนครรภ์ไข่ปลาอุกชนิด partial mole จะพบส่วนของตัวอ่อนและถุงน้ำคร่ำ และพบหลอดเลือดทารกใน villi ด้านทารก
ลักษณะเนื้อรกจะปกติและเสื่อมสลายบวมน้ำเป็นหย่อมๆ.
การรักษา
1.ยุติการตั้งครรภ์
โดยการขูดมดลูก+ให้ Oxytocin
2.ติดตามระดับฮอร์โมน hCG
ประเมินระดับฮอร์โมน
ประเมินสภาพร่างกาย
ถ่ายภาพรังสีปอดเป็นระยะ
ตรวจประเมินอวัยวะสืบพันธุ์
3.คุมกำเนิดอย่างน้อย 1 ปี
4.กรณีที่เกิดมะเร็งเนื้อรก พิจารณาให้เคมีบำบัด
อาการ
1.เลือดออกผิดปกติจากช่องคลอด
2.เม็ดโมลหลุดออกมาทางช่องคลอด พบอายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
3.ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
4.แพ้ท้องอย่างรุนแรง
5.ถุงน้ำรังไข่ พบในราย complete mole
U/S พบถุงน้ำรังไข่ 6-12 cm.ทั้งสองข้าง
6.ครรภ์เป็นพิษ พบในราย complete mole อายุครรภ์น้อยกว่า 24 สัปดาห์ ตรวจพบ ความดันสูง โปรตีนในปัสสาวะ hyperreeflexia
7.คอพอกเป็นพิษ