Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อันตรายจากการปนเปื้อนทางเคมี - Coggle Diagram
อันตรายจากการปนเปื้อนทางเคมี
สาเหตุของการเกิดอันตรายทางเคมี
เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงก่อนหรือระหว่างการเก็บเกี่ยว
เกิดจาก
พืช
มันสำปะหลังดิบ
สารพิษพวกไซยาไนด์ (Cyanide)
กลอย
สารพิษ เรียกว่า ไดออสคอรีน (Dioscorine)ไดออสจินีน (Diosgenine)
ทำให้เกิดอาการใจสั่น วิงเวียน คันคอ คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออกมาก ตาพร่า ชีพจรเบา ตัวเย็นและเป็นลม
เห็ดบางชนิด
จะมีสารพิษพวก muscarine และสารพิษชนิดอื่นๆรวมอยู่ด้วย
มีพิษร้ายแรง ทำให้เสียชีวิตได้ บางชนิดอาจไม่ร้ายแรงถึงเสียชีวิต
สัตว์
คางคก
แมงดาถ้วย
เติมลงไปโดยเจตนา
อาจปนเปื้อนมาโดยไม่เจตนา
อาจติดมากับวัตถุดิบที่ใช้ประกอบอาหาร
สารเคมีที่ใช้ในโรงงาน
สารเคมีที่ใช้ทำความสะอาด สีที่ทาเครื่องจักรผลิตอาหาร
อาจปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหารโดยไม่เจตนา
สารปนเปื้อนที่ไม่ผ่านโครงการอาหารปลอดภัย
สารเร่งเนื้อแดง
สาร Salbutamol
รักษาโรคหอบหืด
มีผลข้างเคียง
อาการกล้ามเนื้อสั่น หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติกระวนกระวาย วิงเวียน ปวดศีรษะ เป็นอันตรายมากสำหรับผู้ที่เป็นโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวาน หญิงมีครรภ์
มีการลักลอบใช้ในสุกร วัว และสัตว์ปีก เพื่อช่วยทำให้สัตว์มีการสะสมไขมันลดลง มีการเจริญเติบโตและกระตุ้นเนื้อแดงเพิ่มมากขึ้น
วิธีสังเกตหมูที่มีสาร
หมูที่ยังมีชีวิตอยู่มีลักษณะคล้ายนักเพาะกาย
เนื้อจะมีสีแดงคล้ำกว่าปกติ
เนื้อที่หั่นทิ้งไว้จะมีลักษณะเนื้อค่อนข้างแห้ง
หมูสามชั้นมีเนื้อแดงมากกว่ามัน
ฟอร์มาลิน
ฟอร์มาลิน เป็นสารเคมีชื่อ Formaldehyde
เป็นสารที่ใช้ ในวงการแพทย์
ผลข้างเคียง
หากได้รับในรูปของไอระเหย แม้จะปริมาณต่ำ ๆ ถ้าถูกตาจะเคืองตามาก ถ้าสูดดมเข้าไปจะทำให้หลอดลมบวม และหากถูกผิวหนังก็จะเป็นผื่นแดงเหมือนลมพิษ
หากได้รับฟอร์มาลินโดยรับประทานเข้าไป จะเกิดอาการปวดท้องมาก เป็นลม คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะไม่ออก อาจหมดสติ ถ้าปล่อยทิ้งไว้อาจเสียชีวิตเพราะระบบหมุนเวียนเลือดล้มเหลว
นำมาใช้ราดอาหารสด ให้คงความสดอยู่ได้นาน ไม่บูดเน่าง่าย
หลีกเลี่ยง
ผักหรือเนื้อสัตว์ต้องไม่มีกลิ่นฉุนแสบจมูก
ไม่ล้างอาหารสดก่อนประกอบอาหาร
บอแรกซ์
ผงกรอบ น้ำประสานทอง ผงเนื้อนิ่ม สารข้าวตอก ผงกันบูดและเม่งแซหรือเพ่งแซ
นำมาผสมในอาหาร เพื่อให้อาหารมีความหยุ่น กรอบ คงตัวได้นาน
ผลข้างเคียง
แบบเฉียบพลัน
มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หงุดหงิด ผิวหนังอักเสบ ผมร่วง
แบบเรื้อรัง
มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ผิวหนังแห้ง หน้าตาบวม เยื่อตาอักเสบ ตับไตอักเสบ
หลีกเลี่ยง
การซื้อเนื้อสัตว์บดสำเร็จรูป
การซื้ออาหารประเภทเนื้อสัตว์ที่ผิดปกติจากธรรมชาติ
อาหารที่มีลักษณะหยุ่นกรอบอยู่ได้นานผิดปกติ
พบใน หมูบด ลูกชิ้น ทอดมัน หมูสด เนื้อสด ไส้กรอก ผลไม้ดอง ทับทิมกรอบ ลอดช่อง เป็นต้น
กรดซาลิซิลิค (สารกันรา)
ผู้ผลิตอาหารบางรายนำมาใส่ เป็นสารกันเสียในอาหารแห้ง เพื่อป้องกันเชื้อราขึ้น
ผลข้างเคียง
หากบริโภคเข้าไปมาก ๆ จะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เป็นแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ ความดันโลหิตต่ำจนช็อกได้
แม้บริโภคเข้าไปไม่มากแต่ถ้าแพ้สารกันรา ก็จะทำให้เป็นผื่นคันขึ้นตามตัว อาเจียน หูอื้อ มีไข้
พบใน
น้ำดองผัก น้ำดองผลไม้ มะม่วงดอง
สารฟอกขาว
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดอาการหายใจขัด ความดันโลหิตต่ำ เวียนศีรษะปวดท้อง อาเจียน อุจจาระร่วง
ผู้ที่แพ้อย่างรุนแรงหรือผู้ป่วยโรคหอบหืด จะมีอาการช็อค หมดสติและเสียชีวิต
พบใน
น้ำตาลมะพร้าว หน่อไม้ดอง ทุเรียนกวน น้ำแช่ผักผลไม้ เช่น ถั่วงอก ขิงฝอย กระท้อน เป็นต้น
สารเคมีสำหรับกำจัดแมลง
เกษตรกรบางคนใช้ในปริมาณมากเกินไปจนทำให้อาจตกค้างมากับผัก หรือผลไม้สด ปลาแห้ง
ผลข้างเคียง
พิษแบบเฉียบพลัน
กล้ามเนื้อสั่น กระสับกระส่าย ชักกระตุกหมดสติ หายใจขัด และอาจหยุดหายใจได้
พิษที่พบมาก
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
พิษแบบเรื้อรัง
: มะเร็ง
อาหารที่มักตรวจพบ
ผักสด ผลไม้สด ปลาแห้ง เป็นต้น
วิธีหลีกเลี่ยง
เลือกซื้อผักที่มีรูพรุนของแมลงบ้าง
เลือกบริโภค ผัก ผลไม้ ตามฤดูกาล หรือ ผักพื้นบ้าน
เลือกบริโภคผักใบมากกว่าผักหัว
เลือกซื้อจากแหล่งที่เชื่อถือได้