Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา :การพยาบาลระบบประสาท - Coggle Diagram
กรณีศึกษา :การพยาบาลระบบประสาท
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
(Increase intracranial pressure )= IICP )
สาเหตุ
2.การเพิ่มปริมาตรเลือดไปเลี้ยงสมอง
3.การเพิ่มปริมาตรของนำ้ไขสันหลัง
1.การเพิ่มปริมาตรของเนื้อสมองเนื่องจากเนื้อสมองบวมทำให้เพิ่มปริมาตรสิ่งบรรจุภายในช่องกะโหลก
ศีรษะเกิดการกดเบียดหลอดเลือด มีการอุดกั้น
ทางเดินน้ำไขสันหลัง
กลไกการปรับชดเชย
Compesatory mechanism
ลดการสร้าง CSF
ลดปริมาณเลือดในสมอง
dura ยืดขยายออก และเนื้อสมองก็มี
ลักษณะออ่นหยุ่น
ปัจจัยส่งเสริมของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
5.อุณหภูมิร่างกายต่่ำเกินไป
ภาวะไข้สูง
6.อารมณ์หรอืการถูกกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
การได้รับยาที่มีฤทธื์ขยายหลอดเลือด
การระบายอากาศหายใจไม่เพียงพอ (Hypoventilation)
3.การทำกิจกรรมบางอย่่างที่ทำให้เพื่มความดันภายในช่องอกหรือช่องท้อง
( Valsava' s maneuver )
การประเมินทางระบบประสาท
การซักประวัติ
การตรวจร่างกายทางระบบประสาท
ระดับความรูส้ ึกตัว (Level of Consiousness)
1.Full consciousness รู้สึกตัวดี การรับรู้ปกติ
2.Confusion สับสน มีความผิดปกติในการตัดสินใจ
3.Disorientation การรับรู้ผิดปกติ ไม่่รับรู้ว้น เวลา สถานที่ ความรู้ตัวลดลง
4.Drowsiness ผู้ป่วยหลับตาเมื่อเรียกลืมตาตื่น ง่วง สับสน
5.Stupor หลับลึก ตอบสนองต่่อสิ่งกระตุ้น:หลับต่อ
ุ6.Coma ไม่รู้สึกตัว
6.1 Semi coma ตอบสนองต่อการกระตุ้นแบบ deep pain
ุ6.2 Coma ไม่มีการตอบสนองต่อการกระตุ้น
การประเมิน GCS
การสื่อภาษา (verbal response)
2.ส่งเสียงไม่เป้นคำพูด คราง
พูดได้เป็นคำๆ
1.ไม่ส่งเสียงเลย
4.พูดได้เป็นประโยคแต่สับสน
5.พูดตอบคำถามได้ถูกต้อง
การเคลื่อนไหว ( mortor response)
2.แขนเหยียดผิดปกติ ( decerebrated )
1.ไม่มีการเคลื่อนไหวเลย
แขนงอผิดปกติ ( decorticated )
4.ชักแขนขาหนีความเจ็บปวด
5.ไม่ตามสั่งแต่ทราบตำแหน่งเจ็บ
6.เคลื่อนไหวได้ตามคำสั่ง
การลืมตา (Eye opening)
1.ไม่่ลืมตาเลย
2.ลืมตาเมื่อเจ็บ
3.ลืมตาเมื่อเรียก
4.ลืมตาได้เอง
การเคลื่อนไหว (Motor power)
เกรด 2 = มีแรงเคลื่อนไหวตามแรงโน้มถ่วงได้
เกรด 4 = สามารถยกแขนและขาได้แต่ต้านแรงกดได้
เกรด 1 = มีการเคลื่อนไหวปลายนิ้วมือ นิ้วท้าได้
เกรด 3 = สามารถยกแขนและขาได้แต่ต้านแรงกดไม่ได้
เกรด 0 = แขนขาไม่มีการเคลื่อนไหว
เกรด 5 = แขนขาปกติมีกําลัง
การบาดเจ็บที่ศีรษะ ( Head injury)
2.การบาดเจ็บทางอ้อม
( indirect injury )
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก
( Primary head injury )
กะโหลกแตกร้าวบริเวณฐาน
( basilar skull fracture )
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่สอง
( Secondary head injury )
Intracranial hematoma
epidural hematoma - EDH
subdural hematoma - SDH
intracerebral hematoma - ICH
Subarachnoid hemorrhage
1.การบาดเจ็บโดยตรง ( direct injury )
บาดเจ็บขณะศีรษะอยู่นิ่ง
( static head injury )
บาดเจ็บขณะศีรษะเคลื่อนที่
( dynamic head injury )
ข้อบ่งชี้สำหรับการผ่าตัดก้อนเลือดในกะโหลกศีรษะ
(Guideline for the surgical management of TBI)
Epidural hematoma
EDH ขนาด > 30 cc. ควรผ่าตัด EDH ขนาด < 30cc.
และหนา < 1.5 cm. และmidline shift < 5mm.และ GCS> 8 และ no focal neurodeficit สามารถรกัษาโดย SerialCT scan
Subdural hematoma
SDH หนา >10 mm. midline shift > 5mm.ควรผ่าตัด
SDH GCS < 9,ควรทําICPmonitoring SDH GCS < 9
หนา < 10 mm., midline shift < 5mm. ควรทําผ่าตัดเมื่อ
GCS ลดลงมากกวา่ 2,หรือ Asymmetric or
fix dilatedpupils,หรือ ICP > 20 mmHg