Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
The Beautiful Mind, อ้างอิง, โรงพยาบาลสวนปรุง. (2551).คู่มือการดูแลผู้ป่ว…
The Beautiful Mind
อาการอะไรบ้างที่บ่งบอก
กลัว
หวาดระแวง
เห็นภาพหลอน
คิดว่ามีคนตามมาทำร้ายตนเอง
หลงผิด เห็นภาพคนที่ไม่ได้มีตัวตนอยู่จริง
การรักษาที่จอห์นได้รับ
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs
กลุ่มยา
Antipsychotic agent
ข้อบ่งใช้
ใชในรักษาโรคจิตเภทที่มีอาการ
ประสาทหลอน
ผลข้างเคียง
ง่วงซึม
ปากแห้ง
ปวดศีรษะ
ผิวหนังไวต่อแสงแดด
ตาสู้แสงไม่ได้
การพยาบาล
แนะนำผู้ป่วยให้เปลี่ยนอริยาบถช้าๆ
วัด V/S เพื่อประเมินสัญญาณชีพ
ควรประเมินการขับถ่ายปัสสาวะ เพราะยาอาจทำให้มีปัสสาวะคั่ง
ติดตามผล WBC count เพราะยาอาจทำให้เม็ดเลือดผิดปกติ
แนะนำให้กินอาหารที่มีกากใยสูงดื่มน้ำให้เพียงพอ
ยาอาจทำให้แพ้แสง ให้ผู้ป่วยระวังการถูกแสงแดดจ้า
ไม่ใช้ร่วมกับยาลดความดันโลหิตและยานอนหลับ
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
กลุ่มยา
Benzodiazepine
ข้อบ่งใช้
เป็นยากล่อมประสาทหรือสงบประสาท ลดความวิตกกังวล
ผลข้างเคียง
ภาวะซึมเศร้า
ปวดหัว
กระสับกระส่าย
กล้ามเนื้อกระตุก
ความสนใจทางเพศลดลง
การพยาบาล
การพยาบาลควรสังเกตและติดตามผลของการรักษา
ประเมินและสังเกตอาการข้างเคียงจากการใช้ยา
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวเกี่ยวกับแผนการรักษาด้วยยา ระยะเวลา ผลการรักษา อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น
บอกข้อควรปฏิบัติอื่นๆในระหว่างการรักษากับผู้ป่วยและญาติ
ECT 1 course (5 times per week/10 weeks)
ข้อบ่งชี้
มักใช้ในผู้ป่วยโรคจิตเวชที่มีอาการรุนแรงอย่างมาก
ผู้ป่วยที่มีปัญหาในการให้ยา
ผู้ป่วยที่รักษาด้วยวิธีอื่นไม่ได้ผล
Schizophenia โดยเฉพาะ catatonic type รักษาด้วย ECT จะทำให้อาการดีขึ้นอย่างรวดเร็ว
ข้อห้าม
Brain tumor, Brain edema, cerebral hemorrhage เพราะการทำ ECT จะทำให้ความดันในสมองเพิ่มขึ้น
ผู้สูงอายุที่ร่างกายไม่แข็งแรง
ผู้ป่วยที่มีโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
ผู้ป่วยวัณโรคระยะรุนแรง
ผู้ป่วยติดเชื้อที่มีไข้สูง, ร่างกายอ่อนแอหรืออ่อนเพลียมาก
การพยาบาลหลังทำ ECT
1.จัดท่านอนหงายราบเอียงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่งเพื่อป้องกันการสำลักเอาหมอนทรายที่หลังและคอออกไม้กดลิ้นควรทิ้งไว้จนกว่าจะแน่ใจว่าผู้ป่วยรู้สึกตัวจึงเอาออกตรวจวัดสัญญาณชีพพร้อมบันทึกและให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวต้องได้รับออกซิเจนตลอดเวลา
2.สังเกตอาการอย่างใกล้ชิดระวังการหยุดหายใจการตกเตียงจากอาการสับสน (confusion) มีนงงโดยให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อนเรียกชื่อผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกตัวเช็ดหน้าด้วยผ้าชุบน้ำสะอาดเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกสดชื่นเมื่อผู้ป่วยเริ่มมีอาการสงบควบคุมตัวเองได้ควรเอาผ้าผูกมัดผู้ป่วยออกให้ผู้ป่วยนอนพักแล้วทดสอบความรู้สึกตัวเช่นผู้ป่วยต้องรู้ว่าตนเองชื่ออะไรเดินตรงทางไม่โซเซจึงอนุญาตให้ผู้ป่วยลุกไปทำธุระส่วนตัวและรับประทานอาหารได้ในช่วงนี้อาจใช้เวลา 30 นาที – 1 ชั่วโมงหรือจนกว่าผู้ป่วยจะควบคุมตัวเองได้จึงจะจัดส่งไปพักผ่อนที่หอผู้ป่วยดังเดิม (ควรมีผู้ดูแลผู้ป่วยจนกว่าจะรู้สึกตัวและทำกิจกรรมเองได้)
3.ผู้ป่วยจะมีอาการนึกคิดอะไรไม่ค่อยออกบางรายอาจมีอาการปวดหัวหรือปวดหลัง พยาบาลไม่ควรถามเรื่องซับซ้อนหรือต้องใช้ความคิดหรือความจำเพราะจะทำให้ผู้ป่วยกังวลมากที่นึกเรื่องราวเกี่ยวกับตนเองไม่ได้ในระยะนี้พยาบาลอาจจะต้องให้ความรู้ใหม่ (Reorientation) เกี่ยวกับวันเวลาสถานที่บุคคลที่อยู่รอบข้างและข้อมูลในด้านอื่น ๆ ตามความเหมาะสมอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นว่าจะค่อยๆหายไปความจำจะค่อยๆกลับมาอาการปวดหัวและปวดหลังก็จะค่อยๆหายไปเช่นกันและควรมีการเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดถึงความกลัวและความวิตกกังวลจากการรักษาด้วย ECT
4.ลงบันทึกเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วยทั้งก่อนทำขณะทำหลังทำและระยะเวลาในการชักพร้อมทั้งอาการผิดปกติอื่น ๆ ที่สังเกตเห็นอย่างละเอียด
จิตบำบัดรายบุคคล
การรักษาโดยทั่วไป
การรักษาด้วยยารับประทาน
การรักษาด้วยยาฉีด
การรักษาด้วยไฟฟ้า Electroconvulsive therapy(ECT)
การรักษาด้านจิตสังคม
จิตบำบัดรายบุคคล
พฤติกรรมบำบัด
กลุ่มบำบัด
ครอบครัวบำบัด
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
ข้อมูลส่วนตัว
นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
พัฒนาการในแต่ละช่วงวัย
วัยเด็ก
เรียนเก่ง
ชอบทำอะไรด้วยตนเอง
เป็นคนเก็บตัว
มีปัญหาในการปรับตัวเข้ากับเพื่อน
ไม่ชอบทำกิจกรรมนันทนาการแต่มีความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์
วัยรุ่น
เป็นอัจฉริยะด้านคณิตศาสตร์
ไม่มีเพื่อนสนิท
มีพฤติกรรมแปลกๆ เพิ่มมากขึ้น
วัยผู้ใหญ่
มุ่งมั่นในการค้นพบความคิดทฤษฏีใหม่ๆ
มีความคิดหมกมุ่น
คิดว่ามีคนจะมาทำร้าย
เห็นภาพเพื่อนคอยตามอยู่ตลอดเวลา
คิดว่าจอห์นมีอาการป่วยทางจิตหรือไม่ (ถ้าเป็นโรคอะไร)
มีอาการป่วยทางจิต
Schizophrenai
ประวัติการเจ็บป่วย
2 ปีก่อนมาโรงพยาบาล
ผู้ป่วยเล่าว่ามีคนสะกดรอยตามเขาอยู่ตลอด
ผู้ป่วยกลัวจะถูกทำร้ายมาก แต่พยายามเก็บเป็นความลับ
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ผู้ป่วยเห็นกลุ่มคนสะกดรอยตามเขาไปถึงที่ทำงาน
ผู้ป่วยรู้สึกกลัวมากจึงวิ่งหนี
ถูกจับตัวนำส่งโรงพยาบาล
อาการทางจิต
delusion
Persecutory Delusional Disorder
หลงผิดว่าถูกปองร้าย เป็นประเภทที่มักพบได้บ่อยที่สุด ผู้ป่วยอาจมีความเชื่อว่าตนเองกำลังถูกสะกดรอยตาม ถูกหักหลัง ถูกกลั่นแกล้ง หรือทารุณกรรม
hallucination
Visual hallucination
ผู้ป่วยมองเห็นภาพต่างๆ โดยที่ไม่เป็นจริง เช่น เห็นคนกำลังมาจะทำร้าย
กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
พรบ.สุขภาพจิต ฉบับที่ 2 พ.ศ.๒๕๖๒ ฉบับล่าสุดฉบับปรับปรุง
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ คือ โดยที่พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑ ได้บังคับใช้มาเป็นเวลานาน ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตยังไม่ได้รับการคุ้มครองสิทธิอย่างถูกต้องและเพียงพอ
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑
มีสาระสําคัญคือ การนำบุคคลที่มีภาวะอันตรายหรือมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษาให้ได้รับการบำบัดรักษาภาวะอันตรายที่กล่าวถึง คือ อันตรายที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติทางจิตที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิดหลงผิด หรือพฤติกรรมที่เป็นเหตุให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น
ประโยชน์ที่ผู้ป่วยทางจิตเวชหรือผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญาจะได้รับจากพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑ นี้คือ ผู้ป่วยทางจิตเวชหรือผู้บกพร่องฯซึ่งอยู่ในสภาวะที่ขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบําบัดรักษาจะได้รับการบําบัดรักษาโดยเร็ว เพื่อป้องกันหรือบรรเทามิให้ความผิดปกติทางจิตมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น หรือเพื่อป้องกันการกระทําที่เกิดจากอาการทางจิตที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวผู้ป่วยเอง เช่น การทําร้ายตนเอง หรือการฆ่าตัวตาย
คิดว่าจอห์นควรได้รับการรักษาในโรงพยาบาลหรือไม่
ควรเข้ารับการรักษา
ไม่สามารถควบคุมตนเองได้
คิดที่จะต่อสู้
ถ้าไม่รักษาอาจทำให้ไปทำร้ายคนอื่นได้
อาการสำคัญ
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
มีอาการหวาดระแวงว่ามีคนสะกดรอยตามจะมาทำร้าย
ผู้ป่วยวิ่งหนีด้วยความหวาดกลัวออกจากที่ทำงาน
อ้างอิง
โรงพยาบาลสวนปรุง. (2551).
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทสำหรับพยาบาล รพท./รพช.โรงพยาบาลสวนปรุง
.สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2564.จาก
https://www.suanprung.go.th/nurse_book/2.pdf
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2560).
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท สำหรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ
.(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : บริษัท วิคทอเรียอิมเมจ จำกัด. สืบค้นเมื่อ 14 กันยายน 2564.จาก
http://mhtech.dmh.moph.go.th/fileupload/202002061595902378.pdf
นางสาววิลาวัณย์ วงศ์ราตรี เลขที่ 63 ห้อง B รหัส 62123301127