Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต, Name : นายกรวุฒิ ธิติธนานนท์ ชั้นม.4/4…
เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์
น้ำ(H2O)
หน้าที่
เร่งปฏิกิริยา
ลำเลียงสาเร
รักษาสมดุลกรด-เบส
เป็นตัวทำละลาย
รักษาสมดุลอุณหภูมิ
แร่ธาตุ
หน้าที่
เป็นส่วนประกอบของโครงสร้าง
เป็นส่วนประกอบของ Enzyme
ทำให้ส่วนต่างๆของสิ่งมีชีวิตทำงานได้อย่างปกติ
เป็นส่วนประกอบของสารอินทรีย์
สารอินทรีย์
คาร์โบไฮเดรต
ให้พลังงาน
คาร์โบไฮเดรตจำแนกตามสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ได้ 2 พวก
-พวกที่เป็นน้ำตาล
-พวกที่ไม่ใช่น้ำตาล
คาร์โบไฮเดรตจำแนกตามขนาดของโมเลกุล สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท
โอลิโกแซ็กคาไรด์ (Oligosaccharide)
พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide)
มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide)
กรดนิวคลิอิก
เป็นสารพันธุกรรม
DNA
DNA (อังกฤษ: deoxyribonucleic acid) พบในนิวเคลียสของเซลล์ เป็นสารพันธุกรรม ในธรรมชาติส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปเกลียวคู่ (Double standed DNA) DNA ที่อยู่ในเซลล์มีจำนวนมากมักมีโครโมโซมเรียงตัวกันเป็นคู่หรือดิพลอยด์
ขนาดและรูปร่าง
รูปร่างของ DNA ในสิ่งมีชีวิตแต่ละประเภทแตกต่างกัน เช่น เซลล์โพรคาริโอต ไวรัส แบคทีเรีย รวมทั้งคลอโรพลาสต์และไมโตคอนเดรีย ที่มี DNA เป็นวงแหวนเกลียวคู่ ส่วนในยูคาริโอต มี 2 ชนิด คือ ชนิดที่อยู่ในนิวเคลียส เรียก nuclear DNA อยู่ในรูปเกลียวคู่ปลายเปิด และชนิดที่อยู่ในไมโตคอนเดรียเรียก Mitochondrial DNA มีลักษณะเป็นวงแหวนเกลียวคู่ และขดตัวเป็นเกลียวคู่ยิ่งยวด ในพืชพบ DNA ทั้งในนิวเคลียสและคลอโรพลาสต์
ลักษณะที่สำคัญของ DNA
Watsan และ Crick พบว่าโครงสร้างตามธรรมชาติของ DNA ในเซลล์ทุกชนิดเป็นเกลียวคู่ซึ่งมีโครงสร้างที่เสถียรที่สุด โดยมีเบสอยู่ด้านในระหว่างสายของ DNA ทั้ง 2 ในลักษณะที่ตั้งฉากกับแกนหลักและวางอยู่ในระนาบเดียวกัน การที่เบสวางอยู่ในสภาพเช่นนี้ทำให้เบสระหว่างอะดีนีนและไทมีนสามารถเกิด พันธะได้ 2 พันธะ และเบสระหว่างกวานีนกับไซโทซีนเกิดได้ 3 พันธะ ซึ่งการเข้าคู่กันนี้ถ้าสลับคู่กันจะทำให้พลังงานที่ยึดเหนี่ยวไม่เหมาะสม กับการเข้าคู่ เพื่อเกิดเกลียวคู่ของDNA
สมบัติของ DNA ในสารละลาย
ฉะนั้นถ้าการเรียงตัวของเบสใน DNA สายหนึ่งเป็น T-C-C-A-A-G ลำดับการเรียงตัวของเบสในอีกสายหนึ่งจึงต้องเป็น A-G-G-T-T-C เราเรียกลักษณะนี้ว่าการจับกันของเบสคู่สม ( base complementary )
สมบัติเกี่ยวกับกรดและเบส DNA แสดงสมบัติเป็นกรดเนื่องจากหมู่ฟอสเฟตที่อยู่ในพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์มีค่า pKa ประมาณ 2.1 ฉะนั้นที่ pH ปกติในเซลล์ของร่างกายประมาณ 6.7 หมู่ฟอสเฟตดังกล่าวจะมีประจุรวมทั้งกรดนิวคลีอิกในเซลล์มีประจุลบด้วยทำให้ สามารถจับกับแอนไอออนหรือแคตไอออน หรือสายอื่นๆที่มีประจุบวก เช่น ฮีสโทน (histone) โพรทามีน (protamine)
ไขมัน
เป็นองค์ประกอบของเซลล์
ฉนวนป้องกันการถ่ายเทความร้อน
ให้พลังงาน // สร้างความร้อน
โปรตีน
Enzyme
ให้พลังงาน
สร้างเสริม
ซ่อมแซม
โครงสร้างโปรตีน
primary structure การเรียงลำดับของกรดอะมิโนในสาย polypeptide
secondary structure มีการสร้าง H-bond ระหว่างกรดอะมิโนทำให้มีการขดเป็น helix หรือพับทบไปทบมาเป็น sheet
tertiary structure หมายถึงโครงรูปของสาย polypeptide ทั้งสายซึ่งประกอบด้วย secondarystructure หลายสายรวมกัน โดยเกิดพันธะต่าง ๆ ภายในสาย secondary structure ได้แก่ พันธะ ionic ,hydrogen และ hydrophobic เป็นต้น
quaternary structure แต่ละ polypeptide มาอยู่รวมกันเพื่อทำหน้าที่ เช่น hemoglobin ประกอบด้วยสาย polypeptide ชนิด a และ b อย่างละ 2 สายมาอยู่รวมกัน
วิตามิน
เสริมสร้างส่วนต่างๆให้แข็งแรงทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของการใช้วิตามิน
ให้เพื่อเสริม เป็นการให้วิตามินบางชนิดเสริมบางสภาวะที่ร่างกายมีความต้องการวิตามินและเกลือแร่มากกว่าปกติ เช่น หญิงตั้งครรภ์ และ ระหว่างให้นมบุตรจะมีความต้องการสารอาหารเพิ่มขึ้น
ให้เพื่อป้องกันการขาด เป็นอาหารเสริมในคนที่มีความเสี่ยงต่อภาวะขาด เช่น เด็กแรกเกิด หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ให้เพื่อการรักษา ให้กับผู้ป่วยที่แสดงอาการขาด
ให้เพื่อหวังผลทางเภสัชวิทยา วิตามินขนาดสูงๆจะถูกนำมาใช้ในการรักษาโรคต่างๆได้
ชนิดของวิตามิน
วิตามินที่ละลายในน้ำ (Water soluble vitamins )
วิตามินที่ละลายในไขมัน (Fat soluble vitamins )
ธาตุ
สารเนื้อเดียวไม่สามารถแยกออกเป็นสารได้ประกอบด้วย Atom
Atom
หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ
โมเลกุล
หน่วยที่เล็กที่สุดของสารประกอบ อยู่ได้อิสระ
สารประกอบ
สารเนื้อเดียวที่รวมกันด้วยธาตุ 2 ชนิดขึ้นไปโดยปฎิกิริยาเคมี
Name : นายกรวุฒิ ธิติธนานนท์ ชั้นม.4/4 เลขที่ 11