Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถิติอ้างอิง (หน่วยที่ 10), รชต ตามา รุ่น 12 รหัส 64632233113 - Coggle…
สถิติอ้างอิง (หน่วยที่ 10)
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ความหมาย
เป็นสถิติที่ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรตามโดยจำแนกตามตัวแปรอิสระ 2 ตัว ขึ้นไป
วิธีการวิเคราะห์
ตัวแปรอิสระ 1 ตัว เรียก การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (one-way ANOVA)
ตัวแปรอิสระ 2 ตัว เรียก การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (two-way ANOVA)
ตัวแปรอิสระ 3 ตัว เรียก การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (three-way ANOVA)
เหตุผล
สะดวก ง่ายและประหยัดได้มากกว่า
โอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนน้อยกว่า เพียง 0.05
วิเคราะห์ความแปรปรวนทุกกลุ่มที่นำมาเปรียบเทียบกัน ทำให้ค่ามีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น
การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ความหมาย
เป็นการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของตัวแปรเพียงตัวเดียว หรือปัจจัยเดียว แต่จำแนกออกเป็น 2 ระดับ
ข้อตกลงเบื้องต้น
ความแปรปรวนของประชากรแต่ละกลุ่มต้องเท่ากัน
กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีการสุ่ม และเป็นอิสระจากกัน ประชากรมีการแจกแจง ปกติ
ตัวแปรเพียงตัวเดียว จำแนกระดับได้ตั้งแต่ 2 ระดับขึ้นไป
ตัวแปรตามเพียงตัวเดียว ผลที่วัดได้อยู่ในมาตราอันตรภาค หรืออัตราส่วน
หลักการวิเคราะห์
ความแปรปรวนรวม = ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม + ความแปรปรวนภายในกลุ่ม
ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม เป็นค่าที่แสดงให้เห็นถึงขนาดความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มต่าง ๆ
ความแปรปรวนภายในกลุ่ม เป็นค่าที่แสดงให้เห็นถึงค่าคะแนนแต่ละตัวที่รวบรวมได้ภายในกลุ่ม
การทดสอบเกี่ยวกับสัดส่วน
การทดสอบสัดส่วนกลุ่มตัวอย่างเดียว
วัตถุประสงค์
เพื่อดูสัดส่วนของการเกิดเหตุการณ์ของกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมาศึกษา ว่าเป็นสัดส่วนเดียวกับการเกิดเหตุการณ์ของประชากรหรือไม่
สถิติที่ใช้
การทดสอบค่าซี Z-test
ข้อตกลงเบื้องต้น
กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มจากประชากรที่มีการแจกแจงปกติ
การแจกแจงของข้อมูลเป็นแบบทวินาม แต่ประมาณโดยใช้การแจกแจงปกติ
ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร
กลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่ (n>30)
การทดสอบสัดส่วนกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม
วัตถุประสงค์
เพื่อทราบสัดส่วนของลักษณะที่สนใจจะศึกษา 2 กลุ่ม ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่
สถิติที่ใช้
การทดสอบค่าซี Z-test
ข้อตกลงเบื้องต้น
กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มจากประชากรที่มีการแจกแจงปกติ
การแจกแจงของข้อมูลเป็นแบบทวินาม แต่ประมาณโดยใช้การแจกแจงปกติ
กลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มเป็นอิสระจากกัน
กลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มมีขนาดใหญ่ (n1>30, n2>30)
การวิเคราะห์ ไค-สแควร์
การทดสอบความถูกต้องตามทฤษฎี
ความหมาย
ใช้ในกรณีมีตัวแปรที่ต้องศึกษาเพียงตัวเดียวและข้อมูลต้องอยู่ในรูปของความถี่
ข้อตกลงเบื้องต้น
ตัวแปรมีระดับการวัดอยู่ในมาตรานามบัญญัติ โดยนับเป็นจำนวนหรือความถี่
ความถี่ที่สังเกตได้ต้องเป็นอิสระจากกัน
ตัวอย่างต้องเป็นตัวอย่างเชิงสุ่มกลุ่มเดียว
ไม่มีข้อตกลงเกี่ยวกับการกระจายของข้อมูล
การทดสอบความเป็นอิสระ
ความหมาย
เพื่อทราบตัวแปร 2 ตัว ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างเดียวกันนั้นมีความสัมพันธ์กันหรือไม่
ข้อตกลงเบื้องต้น
ข้อมูลแต่ละค่าจะต้องอยู่ที่ cell ใด cell หนึ่งเท่านั้น
ข้อมูลแต่ละค่าจะต้องเป็นอิสระจากข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์จะเป็นค่าความถี่ ไม่ใช่ร้อยละ
ค่าความถี่คาดหวังในแต่ละ cell จะต้องไม่น้อยกว่า 5 สำหรับกรณี df>2 และไม่น้อยกว่า 10 กรณี df=1
ไค-สแควร์
วัตถุประสงค์
การทดสอบภาวสารูปสนิทดี
ทดสอบลักษณะต่าง ๆ ของประชากรว่าเป็นไปตามที่คาดไว้หรือไม่
ทดสอบเกี่ยวกับการแจกแจงของประชากร
การทดสอบการเป็นอิสระ
ทดสอบความเป็นอิสระหรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัว
ตัวแปรมีสเกลการวัดแบบแบ่งประเภทที่มีข้อมูลเป็นจำนวนนับ
การทดสอบความเป็นเอกพันธ์
กรณีที่ตัวอย่างกลุ่มเดียวเรามักทดสอบภาวนาสนิทดีระหว่างการแจกแจงของตัวอย่างกับการแจกแจงที่กำหนด
กรณีที่ีมีตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระกันเราสุ่มกลุ่มตัวอย่างจากประชากรแต่ละกลุ่มและจัดข้อมูลของตัวแปรตามที่เป็นแบบจำแนกประเภทให้อยู่ในชั้นต่าง ๆ
วิธีการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลที่อยู่ในรูปของความถี่หรือในรูปของสัดส่วน
เป็นข้อมูลที่เกิดจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวแปรที่เกียวข้องแล้วจำแนวออกมาเป็นความถี่หรือสัดส่วน
การทดสอบเกี่ยวกับจำนวนหรือความถี่ซึ่งมีลักษณะเป็นตัวเลขที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง
ไม่สามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขที่แน่นอนแต่สามารถจำแนกออกเป็นหมวดหมู่ได้
การเทียบค่าสังเกตจากความถี่ที่คาดหวังทางทฤษฎีและประชากร
ช่วยให้เข้าใจบทบาทของความแปรปรวนของโอกาสที่เกิดขึ้นระหว่างตัวแปรกลุ่มสองตัวแปร
คุณลักษณะของตัวแปรที่ใช้
ตัวแปรกลุ่ม
เช่น เพศ, เขตที่อยู่ ฯลฯ
ตัวแปรอันดับ
เช่น เกรด, การศึกษา, ฯลฯ
การอ่านผลที่ได้จากการวิเคราห์ด้วยคอมพิวเตอร์
Value คือ ค่าสถิติที่คำนวณได้ในแต่ละวิธี
Degree of freedom คือ ระดับความเป็นอิสระ
P- value (sig) คือมีนัยสำคัญ
Person chi-square คือการทดสอบของเพียสัน
Likelihood ratio คือการทดสอบวิธีอัตราส่วนความน่าจะเป็น
Linear by linear Association คือทดสอบวิธีความสัมพันธ์ในรูปเชิงเส้น
ค่า a คือความคาดหวังถ้าน้อยกว่า 5 คือไม่น่าเชื่อถือ
โดยมาก เราจะดูค่า P ที่น้อยกว่า 0.05 ซึ่งแปลผลว่ามีความต่างกันหรือสัมพันธ์กัน หรือไม่
การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่
การทดสอบภายหลังการวิเคราะห์ความแปรปรวน หรือเรียกว่า การเปรียบเทียบพหุคูณ
การเปรียบเทียบพหุคูณที่มีเงื่อนไขเกี่ยวกับความเท่ากันของค่าความแปรปรวน
Duncan new multiple-range test
Turkey honestly Significant difference
Scheffe method
Fisher Least
การเปรียบเทียบพหุคูณที่ไม่มีเงื่อนไขเกี่ยวกับความเท่ากันของค่าความแปรปรวน
Tamhane T2
Dunnett T3
Games- Howell
Dunnett C
รชต ตามา รุ่น 12
รหัส 64632233113