Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย - Coggle Diagram
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบภูมิคุ้มกัน
Immunomodulators
Immunosuppressants
Interferon
ㆍ Interferon alfa-2b (Intron A)
nterleukins
ㆍ Aldesleukin
(Proleukin)
Colony-Stimulating FactorsㆍFilgrastim (Neupogen)
Vaccines
ㆍ Hepatitis B vaccine (Energix, Recombivax)
Immunostimulants
Calcineurin Inhibitors
ㆍCyclosporine(Neoral, Sandimmune)
Cytotoxic Drugs and Antimetabolites
ㆍAzathioprine (Imuran)
Antibodies
ㆍBasiliximab (Simulect)
Corticosteroids
ㆍ Hydrocortisone
Biologic Immunomodulators (biologic response modifiers)
ยากดภูมิคุ้มกันม
คอร์ติโคสเตียรอยด์
ฤทธิ์ลดจำนวนและกดการทำงานของเม็ดเลือดขาว และ
ลิ่มโฟซัยต์ ยับยั้งการสร้าง cytokine
ปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์สูง เมื่อใช้นาน
กดการทำงานของต่อมหมวกไต เสี่ยงต่อการติดเชื้อ น้ำตาลในเลือดสูง บวมและความดันโลหิตสูง แผลในทางเดินอาหาร รบกวนการเจริญเติบโตในเด็ก
ข้อบ่งใช้ เพรดนิโซโลนเป็นยาในกลุ่ม สเตียรอยด์ ซึ่งมักใช้ร่วมกับไชโคลสปอริน หรือ ทราโคลิมัส เพื่อป้องกันการปฏิเสธอวัยวะโดยการต้านทานของร่างกาย
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตสูง บวมน้ำ ประจำเดือนมาผิดปกติ กระดูกบาง กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ยาที่เป็นพิษต่อเซลล์และ antimetabolites
Cyclophosphamide
ยารักษามะเร็ง
ทำปฏิกิริยา/ทำลายดีเอ็นเอ
ยับยั้งการแบ่งเซลล์ลิมโฟซัยต์
Azathioprine, Methotrexate, Mycophenolate
mofetil, Leflunomide
รบกวนการสังเคราะห์พิวรีนและไพริมิดีนของลิมโฟซัยต์
Methotrexate
พัฒนาเพื่อรักษามะเร็ง ใช้รักษา ข้ออักเสบรูมาตอยด์ psoriasis กดไขกระดูก
Azathioprine
Adverse Effects: กดขกระดูก เม็ดเลือดขาวต่ำ(เกิดได้ถึงร้อยละ 50) เสี่ยงต่อการติ้ดเชื้อ เป็นพิษต่อตับmutagenic และ teratogenic
ห้าม - ภาวะตั้งครรภ์
Monitor - CBC หน้าที่ตับ ไต การติดเชื้อ อาการ หอบ เลือดออกเยื่อบุช่องปาก ทางเดินอาหาร
Antimetabolites
ไมโคฟัโนเลท โมฟิทิล (Mycophenolate mofetil)
ชื่อทางการค้า เซลเซ็ป (Cellcept)
ข้อบ่งใช้ ไมโคฟิโนเลท โมฟิทิล เป็นยาป้องกันการปฏิเสธอวัยวะ ใช้ร่วมกับ ไซโคลสปอริน ทราโค
ลิมัส และ/หรือ เพรดนิโซโลน
หลีกเลี่ยง การรับประทานยาร่วมกับนม ยาลดกรม ยาเสริมธาตุเหล็ก เพราะทำให้กาดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกายลดลง
ผลข้างเคียง อาจทำให้เกิดภาวะซีดเม็ดเลือดขาวต่ำ แผลหายช้านอกจากนี้พบอาการข้างเคียงเกี่ยวกับทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง หรือ ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
ไมโคฟีโนลิค แอสิด (Mycophenolic acid)
ชื่อทางการค้า มายฟอร์ติก (Myfortic)
ข้อบ่งใช้ ไมโคฟโนลิคแอสิด เป็นยาป้องกันการปฏิเสธอวัยวะ ใช้ร่วมกับไซโคลสปอริน ทราโคลิมัส และ/หรือ เพรดนิโซโลน
หลีกเลี่ยงการรับประทานยาร่วมกับนม ยาลดกรม ยาเสริมธาตุเหล็กเพราะทำให้การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกายลดลง
ผลข้างเคียง อาจทำให้เกิดภาวะซีด เม็ดเลือดขาวต่ำ แผลนอกจากนี้พบอาการข้างเคียงเกี่ยวกับทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง หรือ ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
ยายับยั้ง mTOR
ไซโลลิมัส (Sirolimus) ชื่อทางการค้า ราพามูน (Rapamune)
ข้อบ่งใช้ ยาไซโลลิมัสออกฤทธิ์ป้องกันการปฏิเสธอวัยวะโดยการกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย
หลีกเลื่ยงการรับประทานยาร่วมกับนม ยาลดกรม ยาเสริมธาตุเหล็ก เพราะทำให้การดูดซึมยาเข้า
สู่ร่างกายลดลง
ผลข้างเคียง
ผื่น แผลในปาก บาดแผลหายช้า และ ไขมันในเลือดสูง
เอเวอโรลิมัส ชื่อทางการค้า เซอร์ติแคน (Certican)
ข้อบ่งใช้ ยาเอเวอโรลิมัส ออกฤทธิ์ป้องกันการปฏิเสธอวัยวะโดยการกดภูมิต้านทานของร่างกาย
ผลข้างเคียงอผื่นขึ้นในปาก และ ไขมันในเลือด
ยาเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
Levamisole – เพิ่มจำนวนและการทํางานของ T-lymphocyte – MM, TB
Thaildomide Lenalidomide Pomalidomide ลดจำนวน TNFa, ยับยั้งการสร้างหลอดเลือด -MM
Isoprinosine เพิ่มการสังเคราะห์ cytokine เช่น IL-1, IL-2 และ IFN-Y-HSV warts
Recombinant Cytokines – aldesleukin (IL-2), interferons alfa, beta, gamma - renal cell carcinoma, melanoma
BCG - local immune activation carcinoma in situ (CIS) of the bladder
ntravenous immunoglobulins (IVIG)
autoimmune diseases, cancer - Kawasaki
Interleukin-2
-cell growth factors - เพิ่มการเจริญของ T cell, เพิ่มการหลั่ง cytokineเช่น gamma-IFN
กระตุ้นการสร้าง T4,T8 cell
สามารถกระตุ้น B cell proliferation, macrophage, NK cell
รักษา Advanced malignant melanoma
ใช้ช่วยในการรักษา Renal cell cancer
IVIG
ข้อบ่งใช้ โรคคาวาซากิระยะเฉียบพลัน โรคGuillain -Barre syndrome ที่มีอาการรุนแรง โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดระยะวิกฤต
AIHA ที่ไม่ตอบสนองต่อยาตามขั้นตอนของมาตรฐาน การรักษา HLH , ITP
Biologic agents
TNFα inhibitors
Etanercept, Infliximab, Adalimumab
anti-tumor necrosis factor
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อมะเร็ง
IL-2 receptor antagonists
Basiliximab
จับกับ IL-2 receptors ยับยั้ง การกระตุ้น T-cells
ยับยั้งการปฏิเสธอวัยวะ จากการปลูกถ่ายไต
มักใช้ร่วมกับ cyclosporine และ glucocorticoid
G-CSF
ใช้สำหรับการปลูกถ่ายไขกระดูกหรือเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
ใช้สำหรับรักษา Febrile neutropenia ที่เกิดจากยาเคมีบำบัด
Monoclonal anti-CD3 antibodies
ลดอุบัติการณ์และความรุนแรงของการปฏิเสธอวัยวะเฉียบพลัน
CD3 เป็นส่วนตัวรับของแอนติเจนกับตัวรับบน T-cells
ยับยั้งการจับของแอนติเจนกับตัวรับบน T-cells
Antilymphocyte (ALG), antithymocyte(ATG) antibodies
เอา lymphocyte จากคนไปกระตุ้นสัตว์ทดลอง
สัตว์ทดลองสร้าง Ab ต่อ lymphocyte หรือ thymocyte ของคน
Ab ต่อ cell-surface molecules บนผิว ของ T lymphocytes, B cells, NK cells และ macrophages
ถ้าใช้เซลล์จาก thymus ➡️antithymocyte Ab
ถ้าใช้เซลล์จาก thoracic duct, ม้าม, กระแสเลือด
➡️antilymphocyte Ab
ลดการแบ่งเซลล์ยับยั้ง การกระตุ้นและทําลาย T-cells
รักษาภาวะการปฏิเสธการปลูกถ่ายไตเฉียบพลัน
กลไกการป้องกันโรคของร่างกาย
ภูมิคุ้มกันชนิดไม่จำเพราะ
การป้องกันด้านที่ 1
กลไกทางกายภาพ
กลไกลทางเคมี
กลไกทางพันธุกรรม
การป้องกันด้าน 2
อาการบวมแดง
interferrons
phagoctosis
ภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ
การตอบสนองต่อการใช้สารน้ำ
ภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ
การติดเชื้อตามธรรมชาติ
ภูมิคุ้มกันที่ได้จากแม่ผ่านทางรก
ภูมิคุ้มกันสังเคราะห์
วัคซีน
เซรุ่ม หรือ Immunoglobulin
Immunization
การเสริมภูมิต้านทาน
กระตุ้นให้ร่างกายสร้างขึ้น
ให้สารที่มีคุณสมบัติในการเป็นภูมิคุ้มกัน
Active VS Passive Immunization
Active การให้แอนติเจนเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันเอง เกิดภูมิคุ้มกันภายหลังการให้วัคซีน /toxoid หรือภายหลังการติดเชื้อตามธรรมชาติ ต้องใช้เวลาในการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคภูมิคุ้มกันคงอยู่ในร่างกายได้นานร่างกายจดจำเชื้อโรคได้
Passive การให้แอนติบอดีหรือภูมิคุ้มกันต่อโรคเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคเกิดภูมิคุ้มกันภายหลังให้อิมมูโนโกลบูลิน /แอนติท็อกซิน หรือส่งผ่านจากแม่สู่ลูกทางรกและน้ำนมสามารถป้องกันโรคได้ทันทีภูมิคุ้มกันคงอยู่ในร่างกายได้ไม่นานร่างกายไม่จดจำเชื้อโรค