Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแยกสาร, วิธีตกผลึกที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ การตกผลึกในสารละลายด้วยตัวทำ…
การแยกสาร
การตกผลึก
ขั้นตอนในการตกผลึก
- เลือกตัวทำละลายที่เหมาะสม
- บดสารที่ต้องการตกผลึกให้ละเอียด ใส่ในภาชนะที่มีตัวทำละลายอยู่เล็กน้อย
- อุ่นสารให้มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นช้าๆ พร้อมกับเติมตัวทำละลายลงไปจนมีปริมาณพอสมควร ทำให้สารละลายที่ได้เป็นสารละลายอิ่มตัว แล้วอุ่นสารละลายต่อไปจนอุณหภูมิใกล้เคียงกับจุดเดือดของตัวทำละลาย เพื่อให้ผลึกที่บดละเอียดละลายหมด
- กรองในขณะที่สารละลายยังร้อน
- ปล่อยให้สารละลายที่ได้จากการกรองเย็นลงช้า ๆ อย่าให้ถูกกระทบกระเทือนหรือเคลื่อนไหว เพื่อให้ได้รูปผลึกที่สวยงาม
- ผลึกที่ตกครั้งแรกอาจไม่บริสุทธิ์เพียงพอ ต้องตกผลึกใหม่อีกครั้งเพื่อให้มีความบริสุทธิ์เพิ่มขึ้น
การตกผลึก คือ ปรากฏการณ์ที่ของแข็งที่เป็นตัวละลายแยกออกจากสารละลายอิ่มตัว เมื่อสารละลายอิ่มตัวมีอุณหภูมิลดลง ถ้าสารละลายอิ่มตัวเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว จะเกิดผลึกที่มีขนาดเล็ก แต่ถ้าสารละลายอิ่มตัวเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ จะเกิดผลึกที่มีขนาดใหญ่ ผลึกที่สมบูรณ์ของสารต่างชนิดกันจะมีรูปทรงที่แตกต่างกัน
-
การกลั่น
แบบลำดับส่วน
การกลั่นลำดับส่วน คือ กระบวนการแยกสารที่มีจุดเดือดต่าง ๆ กันออกเป็นส่วน ๆ โดยการกลั่นซ้ำหลาย ๆ ครั้งนั่นเอง สารที่มีจุดเดือดสูงจะควบแน่นก่อน และสารที่มีจุดเดือดต่ำจะควบแน่นหลังตามลำดับ พวกที่มีจุดเดือดต่ำที่สุด จะควบแน่นในตอนบนสุดของคอลัมน์
ด้วยไอน้ำ
การกลั่นด้วยไอน้ำ หมายถึงการทำให้ผนังเซลล์ของพืชอ่อนตัวด้วยไอน้ำร้อน น้ำมันหอมระเหยจะแพร่ผ่านผนังเซลล์ ระเหยกลายเป็นไอออกมากับไอน้ำ แล้วควบแน่น เป็นน้ำมันหอมระเหยปนกับน้ำ จึงแยกออกจากกันได้ในขั้นสุดท้าย วิธีการกลั่นที่มีน้ำเข้ามา
แบบธรรมดา
-
-
ของเหลว+ของแข็ง ท าให้สารละลายอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อยๆ สารที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือดต่ ากว่าจะกลายเป็นไอ
-
การระเหยแห้ง
การแยกสารด้วยวิธีนี้เหมาะสำหรับใช้แยกสารผสมที่เป็นของเหลวและมีของแข็ง ละลายในของเหลวนี้ จนทำให้สารผสมมีลักษณะเป็นของเหลวใส ซึ่งเราเรียกสารผสมนี้ว่า สารละลาย เช่น น้ำทะเล น้ำเชื่อมน้ำเกลือ เป็นต้น
การระเหยแห้งเป็นวิธีการที่ใช้ในการแยกสารละลายที่ประกอบ ด้วย ตัวละลายที่เป็นของแข็งละลายอยู่ในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยการให้ความร้อนเพื่อทำให้ตัวทำละลายที่มีจุดเดือดต่ำระเหยเป็นไอ แยกออกไปจนหมด และเหลือเพียงตัวละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย (solvent extraction) เป็นวิธีการสกัด (extraction) น้ำมัน ไขมัน น้ำมันหอมระเหยโดยใช้ ตัวทำละลาย เช่น เฮกเซน การสกัดด้วยวิธีการนี้เหมาะสำหรับการสกัดน้ำมันออกจากเมล็ดพืช ที่มีปริมาณไขมันต่ำ ใช้เพื่อการผลิตน้ำมันพืช
-
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
โครมาโทกราฟี อาศัยหลักการละลายของสารในตัวทำละลาย และการถูกดูดซับโดยตัว ดูดซับ โดยสารที่ต้องการนำมาแยกโดยวิธีนี้จะมีสมบัติการละลายในตัวทำละลาย ได้ไม่เท่ากัน และตัวถูกดูดซับโดยตัวดูดวับได้ไม่เท่ากัน ทำให้สารเคลื่อน ที่ได้ไม่เท่ากัน
ข้อดีของโครมาโทกราฟี1. สามารถแยกสารที่มีปริมาณน้อยได้
- สามารถแยกได้ทั้งสารที่มีสี และไม่มีสี
- สามารถใช้ได้ทั้งปริมาณวิเคราะห์ (บอกได้ว่าสารที่แยกออกมามี ปริมาณเท่าใด)
- สามารถแยกสารผสมออกจากกันได้
- สามารถแยกสารออกจากกระดาษกรองหรือตัวดูดซับโดยสกัดด้วยตัวทำละลาย
วิธีตกผลึกที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ การตกผลึกในสารละลายด้วยตัวทำละลายที่เหมาะสม ตัวทำละลายที่ใช้ในการตกผลึก ควรมีสมบัติดังนี้
- ละลายสารที่ต้องการตกผลึกได้ดีในขณะร้อน
-
-
-
-
-
-
-