Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชื่อเล่น ด.ญ.เกวลิน อายุ 4 ปี การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever…
ชื่อเล่น ด.ญ.เกวลิน อายุ 4 ปี
การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever (DHF)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะชักเนื่องจากไข้สูง
S: -การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever (DHF)
“น้องมีอาการอ่อนเพลีย กินได้น้อย”
O:
O: -อุณหภูมิร่างกาย
09.30 น.
T 38.2 องศาเซลเซียส
14.00น.
T 38.2 องศาเซียวเซียส
วัตถุประสงค์:
-ไม่เกิดภาวะชัก
เกณฑ์การประเมิน:
-นอนหลับผักผ่อนได้ 10-12 ชั่วโมง
-ไม่มีอาการชัก
-ไข้ลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงถ้ามีไข้สูงกว่า 37.5 องศาเซลเชียส
ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด
3.ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
4.ดูแลให้การพยาบาลขณะที่มีอาการชักจากไข้สูง /อาการชัก อาการชัก จากไข้สูง
1 คลายเสื้อผ้าเด็กขายเสื้อผ้าเด็กให้หลวม
ดูแลเรื่องของระบบทางเดินหายใจเด็กให้สะดวกโดยจัดให้นอน ตะแคง ศีรษะต่ำกว่าลำตัว ดูดเสมหะถ้ามีเสมหะหรือน้ำลายมาก
3 ไม่ผูกยึดเด็กหรือจับเด็กขณะที่มีอาการชักเพราะอาจเกิดข้อไหล่ หลุดหรือกระดูกหัก
4 ไม่ใส่ไม้กดลิ้นเข้าปากเด็กเพราะอาจจะทำให้ฟันหักและฟันที่หัก อาจตกลงไปในลำคอเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจถ้ามีสิ่งของหรือเศษ อาหารค้างในปากให้ล้วงออกมา
5ระมัดระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขณะมีอาการชักเช่นการตกเตียง การกระทบกระแทกกับขอบเตียงกระดูกหักหรือข้อเคลื่อนเป็นต้น
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อค เนื่องจากมีการรั่วของพลาสม่า
S: -การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever (DHF)
“น้องมีอาการอ่อนเพลีย กินได้น้อย กินอะไรก็อาเจียนออกมาหมดวันนี้อาเจียนแล้ว 2 ครั้ง ไม่มีอะไรออกมาเลยมีแต่น้ำกับฟอง ๆ แล้วมีถ่ายเหลวด้วย 2 ครั้ง ไม่มีเลือดปนออกมา”
O:
-V/S
09.30 น.
T 38.2 องศาเซียวเซียส, P 110 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็ว, R 40 ครั้ง/นาที หายใจเร็ว, BP 80/50 mmHg., SPO2% 97%
14.00น.
T 38.2 องศาเซียวเซียส, P 130 ครั้ง/นาที, R 42 ครั้ง/นาที, BP 82/55 mmHg.
SPO2% 97%
-ค่าHct. 16.6% ต่ำกว่าปกติ
-ฝ่ามือฝ่าเท้าเย็น
-พบตับโต
-พบจุดจ้ำเลือดบริเวณแขนทั้ง2ข้าง
วัตถุประสงค์:
-ไม่เกิดภาวะช็อค
เกณฑ์การประเมิน:
-Pulse pressure มากกว่า 20 mmHg
-ไม่มีอาการและอาการแสดงของช็อค เช่น ขีด เหงื่ออก ตัวเย็น กระสับกระส่าย เป็นต้น
-สัญญาณชีพปกติ
T 35.9-36.7 ํC (วัดArmpit)
P 70-100 ครั้ง/นาที
R 20-24 ครั้ง/นาที
BP ไม่ควรต่ำกว่า 78/60-ไม่ควรเกิน110/70 mmHp
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด พร้อมแนะนำญาติให้ช่วยสังเกตโดยเฉพาะอาการช็อก เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง, ซึมลง, ปลายมือปลายเท้าเย็น, พูดจาสับสนหรือมีอาการ กระสับกระส่าย
ตรวจวัดสัญญาณชีพอย่างน้อย ทุก 1/2 - 1 ชั่วโมง หากพบ pulse pressure < 20 มม.ปรอท, ชีพจร
120 ครั้ง/นาที หรือเบาไม่ชัดเจน, หายใจเร็ว > 30 ครั้ง/นาที, ความดันโลหิต < 90/60 มม.ปรอท
ติดตามผล Hct.ทุก 6 ชั่วโมง ถ้าเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากเดิมมากกว่า 3% ต้องรีบรายงานแพทย์
บันทึกสารน้ำที่เข้าออกร่างกาย ทุก 4-8 ชั่วโมง
ติดแผ่นป้าย "เตือนใจ ไข้เลือดออก" ที่บริเวณ unit ผู้ป่วย ซึ่งให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการซึ่งเป็นสัญญาณ อันตรายที่ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เช่น ซึมลง , อ่อนเพลียมาก , คลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา , ปวดท้อง มาก , มีเลือดออกผิดปกติ เช่น เลือดกำเดา, อาเจียนหรืออุจจาระเป็นเลือด , กระสับกระส่ายมาก เป็นต้น
เสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกง่ายเนื่องจากมีเกล็ดเลือดต่ำ
S: -การวินิจฉัยโรค Dengue hemorrhagic fever (DHF)
O:
ผล CBC
-Hb 15.5 g/dl สูงกว่าปกติ
-Hct 16.6 % ต่ำกว่าปกติ
-WBC 5,400 mm3
-Platelet 25,000 mm3 ต่ำกว่าปกติ
-Neutrophils 60 %
-Lymphocytes 29 %
การตรวจร่างกาย
-เล็บซีด ตรวจ ceiling filling time= 2 sec
-พบจุดจ้ำเลือดบริเวณแขนทั้งทั้ง 2 ข้าง
-ฝ่ามือฝ่าเท้าเย็น
-เปลือกตาซีดเล็กน้อย
-พบตับโต
วัตถุประสงค์:
-ไม่เกิดอันตรายจากภาวะเลือดออกง่าย
เกณฑ์การประเมิน:
-ไม่มีอาการและอาการแสดงของเลือดออกง่าย เช่น จุดจ้ำเลือด อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระดำ เป็นต้น
-สัญญาณชีพปกติ
-ผล Hct และเกล็ดเลือดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้นอนพักบนเตียง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ หรือเหตุกระทบกระแทกต่อผู้ป่วย
2.ดูแลผู้ป่วยพร้อมแนะนำญาติให้ดูแลผิวหนังให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ อย่าให้เกา ควรตัดเล็บให้ สั้น และรักษาความสะอาดเสมอ
3.สังเกตอาการเลือดออกในผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด พร้อมแนะนำญาติ เช่น ภาวะเลือดกำเดาไหล ให้ ผู้ป่วยนอนราบใช้กระเป๋าน้ำแข็งหรือผ้าเย็นวางบริเวณหน้าผาก และบีบดั้งจมูก
แนะนำญาติเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของช่องปาก โดยให้งดการแปรงฟันให้ใช้บ้วนปาก หรือ ให้ใช้ไม้พันสำลีทำความสะอาดฟันและช่องปากแทน
แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการสั่งน้ำมูกแรงๆ
หลังเจาะเลือดทุกครั้ง ต้องกดด้วยสำลีแห้งและปลอดเชื้อให้นานพอ
ห้ามฉีดยาเข้ากล้าม หรือทำหัตถการที่รุนแรงในผู้ป่วย
ติดตามผล CBC ดู Platelet