Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบทางเดินอาหาร
ยาที่รักษาอาการท้องเสีย
อื่นๆ
Lactobacillus
สร้างกด Lictic
ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
ไม่ควรใช้ติดต่อกัน 2 วัน
ผงน้ำตาลและเกลือแร่
จิบทีละน้อยๆ เรื่อยๆ ให้หมดภายใน 24 ชม
หลังผสมแล้ว
ทดแทนการสูญเสียน้ำและเกลือแร่
ใช้ยารักษาเบื้องต้น
ดูดซับสารพิษที่เป็นสาเหตุของอาการท้องเสีย
Kaolin และ Pectin
อาจทำให้อาเจียนท้องผูก
ออกฤทธิ์ดูดซับแก๊ส กรด สารเป็นพิษ
และแบคทีเรีย
ออกฤทธิ์เคลือบเยื่อเมือกในทางเดินอาหาร
ป้องกันการระคายเคืองต่างๆ
เกลือ Bismuth
สามารถจับสารพิษที่สร้างจากเชื้ออหิวาห์
ลดการอักเสบของลำไส้
ใช้แก้ท้องเสียที่ไม่รุนแรง
ใช้ป้องกันการท้องเดินตอนเดินทาง
Activated Charcoal
อุจจาระดำ
กระตุ้นให้ผิวเซลล์ดูดซับสารพิศได้เร็ว
Cholestyramine
บรรเทาอาการท้องเดิน
อาจท้องอืด ท้องผูก อุจจาระอุดตันลำไส้
ติดตามผลเป็นระยะๆ
ถ้าใช้นานอาจจะขาดวิตามิน A D และกรดFolic
ข้อควรปฏิบัติ
หากอาการไม่ดีขึ้น ควรไปพบแพทย์
ระวังการขาดน้ำ และเกลือ
เลี่ยงอาหารแข็ง ย่อยยาก
ห้ามซื้อยามาทำเอง
ทำให้อุจจาระเป็นก้อน
ได้แก่
Plyllium
Sterculia
Polycarbophil
Methylcellulose
ไม่บรรเทาอาการสูญเสียน้ำและเกลือแร่
ดูดซืมน้ำเข้าหาตัว
ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้
Diphenoxylate
หากใช้นานอาจติดยา
อาจทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ผื่นแดง ท้องอืด ปากแห้ง
ให้ยาขนาดต่ำจะไม่มีผลต่อระบบประสาท
ออกฤทธิ์ยับยั้งการคลื้นไส้ของลำไส้
Opioids
ทำให้น้ำมีโอกาสกลับดูดซึมเข้าสู่เยื่อบุลำไส้อีก
ให้ผลดีที่สุด
ยับยั้งการบีบตัวของลำไส้
Loperamide
นิยมใช้ในอาการท้องเสียมากกว่ากลุ่มอื่น
ลดปริมาตรอุจจาระ
หากทานแล้ว 48 ชม. ไม่ดีขึ้นให้หยุดยา
ไม่ควรใช้ในขนาดสูงเกินไป
ยาระงับการคลื่นไส้และอาเจียน
ต้านโคลิเนอร์จิก
ยับยั้งการกระตุ้นศูนย์กลางการอาเจียนที่ระบบประสาท
ใช้มากที่สุดคือ Scopolamine
ป้องกันการเมารถ เมาเรือ
อาจทำให้คอแห้ง ปากแห้ง
ปิดกั้นตัวรับเซอโรโตนิน
ได้แก่
Dolasetorn
Ondansetorn
Granisetorn
Palonosetorn
ระงับการคลื่นไส้จากเคมี บำบัด
อาจท้องเดิน ปวดหัว ท้องผูก หลอดลมหดเกร็ง
ออกฤทธิ์ปิดกั้นที่ 5TH3-recepter
อื่นๆ
Cisaride
กระตุ้นการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
กระตุ้นระบบประสาท
ใช้กับผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวเกี่ยวกับทางเดินอาหารลดลง
และได้รับการผ่าตัดระบบทางเดินอาหาร
กลุ่มยานอนไม่หลับ
ได้แก่
Dizerpam
Lorazerpam
ระงับการคลื่นไส้จากเคมีบำบัด
ลดความวิตกกังวล คลายเครียด
ปิดกั้นตัวรับอิสตามินชนิดที่ 1
ได้แก่
Cyclizine
Dophenhydramine
Promethazine
Hydroxyzine
Dimenhydrinate
แย่งจับ H1 recepter ที่หูและสมอง
ใช้แก้คลื่นไส้ อาเจียน แพ้ท้อง
อาจง่วงซึม ปวดหัว ปากแห้ง
การพยาบาล
เพิ่มการเคลื่อนไหวทางเดินอาหารในผู้ป่วย
ลำไส้อุดตัน
เลี้ยงในผู้ป่วยลมชัก และพาร์กินสัน
เพิ่มความดันในตเอหิน
ปิดกั้นตัวรับโตปามีนชนิดที่ 2
Metochlopramind
ใช้ครั้งละ 0.5 mg/kg
ออกฤทธิ์ปิดกั้น D2 receper
ดูดซึมผ่านตับได้ดี
ระงับอาการอาเจียนในผู้ป่วยทำเคมีบำบัด
Domperidone
ออกฤทธิ์กระตุ้นการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
อาจทำให้เกิด QT Prolong
Medicine Agency
ใช้ได้ไม่เกิน 7 วัน
ควรทานตอนท้องว่าง
ไม่ใช่ร่วมกับยากลุ่ม Strong CYP344 innibitors
ไม่ใช้ร่วมกับผู้ป่วยโรคหัวใจ
Haloperidol
ออกฤทธิ์แย่งจับ D2 receper ที่สมอง
ทำให้ง่วงนอนความดันต่ำ
Cholrpromazine
ระงับการอาเจียน หลังผ่าตัด
ระงับอาเจียนจากภาวะไตวาย
ระงับอาเจียนจากการใช้ฮอร์โมนเอสโตรเจน
ใช้รักษาโรคจิต
สารสกัดกัญชา
ได้แก่
Dronabinol
Nabilone
ป้องกันการอาเจียนจากเคมีบำบัด
หัวใจเต้นเร็ว ประสาทหลอน
นอนไม่หลับ ความดันต่ำ
ยารักษาแผลในทางเดินอาหาร
ยาลดกรด
ผลทางเภสัชวิทยา
pH ในกระเพาะอาหารสูงขึ้น
เพิ่ม pH ในกระเพาะอาหาร
เพิ่ม pH ในทางเดินอาหาร
เริ่มยับยั้งการทำงานของ pepsin
รักษา
แผลในกระเพาะอาหาร
ปวดช่องท้องส่วนบน
แสบท้อง
ข้อควรระวัง
ทำให้ pH ในปัสสาวะต่าง
ไม่ควรใช้ยาอื่นร่วมกับยาลดกรด
โดยทั่วไป
ส่วนหนึ่งถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด
ไม่เหมาะรักษาโรค PUD
ถ้ารับมากจะเกิดภาวต่างที่รุนแรง
เฉพาะแห่ง
ไม่ถูกดูดซีมเข้ากระแสเลือด
ชนิดน้ำออกฤทธิ์ได้ดีกว่าชนิดเม็ด
Aluminium bydroxide
ไม่ถูกดูดซึมในระบบทางเดินอาหาร
ผลข้างเคียง
ทำให้ท้องผูก
ถ้าใช้นานจะทำให้ฟอสเฟตในเลือดต่ำ
รบกวนการดูดซีมยาชนิดอื่นๆ
มีฤทธิ์อ่อนสุด
Megnisium hydroxide
ทำปฏิกิริยากับกรดเลือดในกระเพาะอาหาร
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดระดับ megnisium ในเลือดสูง
เกิดพิษต่อหัวใจ กดระบบหายใจ
หากได้รับขนาดสูง อาจท้องเดินอย่างรุนแรง
เสียน้พและเกลือแร่
มักใช้คู่กับ Aluminium bydroxide
Calcium carbonate
ผลข้างเคียง
ท้องผูก อุจจาระแข็ง ท้องอืด
หากหยุดยากระทันหันจะเกิดภาวะหลังกรด
มีอาการทางประสาทสับสน
ลดกรดได้ดี
ถูกดูดซึมไม่แน่นอน
การพยาบาล
แนะนำการรับประทานยาที่ถูกต้อง
ไม่ควรใช้กับยาตัวอื่น
แนะนำรับประทานอาหารที่มีฟอสเฟตสูง
ติดตามอาการแม็กนีเซียมสูงในเลือด
สังเกตการขับถ่ายอุจจาระ
ยาระงับการหลั่งกรด
ยาระงับProton pump
กลไกล
ถูกดูดซีมจากลำไส้เล็กส่วนต้น แล้วเปลี่ยนเป็น Active
from
เภสัชจลนศาสตร์
ดูดซีมได้รวดเร็วในทางเดินอาหาร
ทำให้ยาอยู่ในรูปแบบ entermic-coated
ยาจะถูกทำลายตับ
รักษา
แผลรักษาในกระเพาะอาหาร
โรคกรดไหลย้อน
ภาวะที่หลั่งกรดปกติ
ผลข้างเคียง
ปวดศรีษะ มึนงง
ผื่นแดงตามผิวหนัง
ท้องผูก ท้องเสีย
ขนาดใช้
Omeprazole 20 mg วันละครั้ง
Omeprazole 40 mg กับสารที่ละลายให้มา 10 ml ฉีดเข้าหลอดเลือดดำวันละครั้ง
ยาต้านฤทธิ์อิสตามินชนิดที่ 2
ปฏิกิริยากับยาอื่นๆ
ยับยั้งเอนไซม์ CYP450
ยับยั้งการซับยาอื่นที่เป็นเบสออกสู่ท่อไต
ขนาดยาที่ใช้
Cimetidine 400 mg วันละ 2 ครั้ง
Ranitidine 150 mg วันละ 2 ครั้ง
Famotidine 20 mg วันละ 2 ครั้ง
Nizatidine 150 mg วันละ 2 ครั้ง
ผลข้างเคียง
ท้องเสีย ท้องผูก อาเจียน
หัวใจเต้นช้าผิดปกติ
ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน
เภสัชจลนศาสตร์
ออกฤทธิ์ในช่วง 6-9 ชั่วโมง
ลดการหลั่งกรดที่ 70%
กลไกล
ออกฤทธิ์จับกับ H2-receptors
ป้องกันไม่ให้ gastine กับ Ach
กระตุ้นให้หลั่งกรด
รักษา
แผลในทางเดินอาหาร
ภาวะหลั่งกรดมากกว่าปกติ
โรคกรดไหลย้อน
ยาใช้ขจัดแบคทีเรีย Helicobacter pylori
นิยมใช้รักษาแบบ triple therapy
แผนการรักษาคือ First line therapy
H.pylori เป็นสาเหตุหลัก
ชนิดเม็ดลดคามเสี่ยงต่อการเกิดช้ำเกิดแผล
ยาป้องกันการทำลายเยื่อบุทางเดินอาหาร
Sucralfate
รักษา
แผลที่เกิดจากความเครียด
บรรเทาเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
ขนาดที่ใช้
ก่อนอาหาร 1 ชั่วโมงและก่อนนอน
ผลข้างเคียง
ท้องผูก
เภสัชจลนศาสตร์
ออกฤทธิ์ได้ดีในสภาวะที่เป็นกรด
ปฏิกิริยากับยาอื่นๆ
ลดการดูดซีมของยาชนิดอื่นๆ
กลไก
จับกับกรดในกระเพาะอาหาร ได้สารเคลือบกระเพาะอาหาร
Colloidal bismuth compound
รักษา
แผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
ใช้ร่วมกับยาปฏิชีวนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
กลไก
จับกับแผลในกระเพาะอาหาร
ลดอาการระคายเคือง
ผลข้างเคียง
ปาก ลิ้น อุจจาระดำ
คลื่นไส้ อาเจียน
Carbenaxolone
กลไก
เพิ่มการสมานแผลที่กระเพาะอาหารและลำไส้
เพิ่มการหลั่งของเหลวและเมือก
ผลข้างเคียง
สูญเสียโพแทสเซียมในทางเดินปัสสาวะ
คามดันสูง บวมน้ำ
Prostaglandins analongs
กลไก
ควบคุมการสร้างเมือกในทางเดินอาหาร
ยับยั้งการหลั่งกรดจาก parietal cells
รักษา
ป้องกันการเกิดแผลในทางเดินกระเพาะอาหาร
ด้านการแข็งตัวของเลือด
ขนาดที่ใช้
รับประทาน 3-4 ครั้งต่อวัน
ผลข้างเคียง
เพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่งในทางเดินอาหาร
มดลูกบีบ อาจแท้งได้
ยาระบาย
การพยาบาล
หากใช้เป็นประจำ จะทำให้ติดการใช้ยา
ไม่ควรใช้ยาลดน้ำหนัก
ยาแบบสวนทวาร จะออกฤทธิ์ภายใน 30 นาที
ไม่ควรใช้ในเด็กต่ำกว่า 6 ปี หรือหญิงตั้งครรภ์
ยาระบายให้ทานก่อนนอน เพื่อออกฤทธิ์ใน 6 โมงเช้า
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการท้องร่วง
เกิดการเพิ่มกากใย
ห้ามใช้พร้อมยาอื่น และผู้ป่วยที่เป็นแผลเรื้อรัง
ออกฤทธิ์ช้ากว่ากลุ่มอื่น ต้องรอ 2-3 วัน
ถึงจะเห็นผล
ส่วนใหญ่ใช้ผสมน้ำ ก่อนดิ่ม
จะพองตัวในลำไส้เพื่อเพิ่มปริมาณกากใย
ปลอดภัยสูงสุด
ได้แก่
Methylcellulose
Psyllium
มีแรงดึงน้ำมาก
ดึงแรงดัน Osmotic ทำให้แรงดันในลำไส้เพิ่มขึ้น
มีผลระคายเคืองเฉพาะที่
ออกฤทธิ์ภายใน 30 นาที
เหมาะในเด็ก สตรีมีครรภ์ และให้นมบุตร
ช่วยหล่อลื่นและทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม
ออกฤทธิ์ลดความตึงของผิวของก้อนอุจจาระ
ไม่มีผลต่อการเคลื่อนไหวของลำไส้
ทำให้อ่อนนุ่มภายใน 24-48 ชม.
ใช้ในผู้ป่วยที่ไม่ต้องออกแรงเบ่ง
มีฤทธิ์กระตุ้นลำไส้
Caster oil
ลดการดูดซึมกลับของน้ำและเกลือแร่
แนะนำให้ผสมกับน้ำหวาน และผลไม้
ควรทานขณะท้องว่าง
ถูกย่อยในลำไส้โดยเอนไซม์ lipase
สกัดจากเมล็ดละหุ่ง
Anthraquinone laxativer
พบใน
ใบมะขามแขก
โกฏน้ำเต้า
ว่านหางจระเข้
ใบมะขามแขกถูกย่อยเป็นกลูโคส และ emodins
ออกฤทธิ์กระตุ้นปลายประสาทลำไส้ใหญ่
ออกฤทธิ์โดย Anthraquinone glycosides
Bisacodyl
ออกฤทธิ์กระตุ้นปลายประสาทในเยื่อมูกของลำไส้
มีการหลั่งน้ำและเกลือแร่เพิ่มขึ้น
ควรรับประทานทั้งเม็ดพร้อมอาหาร
หรือหลังอาหารทันที
ใช้แก้ท้องผูกแบบเรื้อรัง และเฉียบพลัน