Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Antimicrobial agents ยาฆ่าเชื้อ - Coggle Diagram
Antimicrobial agents ยาฆ่าเชื้อ
Classifications of antimicrobial medications
Categories of antibiotics
ㆍBactericidal (kill the bacteria)
ㆍUsually antibiotic of choice
ㆍBacteriostatic (inhibit the growth of bacteria
without killing them)
ㆍDuration of treatment sufficient for host defenses
Type of microorganisms
ㆍAntibacterial
ㆍAntifungal
ㆍAntiviral
ㆍAntiparasite
Selection of Antimicrobials
การเลือกใช้ยาต้านจุลชีพ
เชื้อดื้อยาที่พบบ่อยในโรงพยาบาลและมักดื้อยาหลายขนาน
1.Eschenchia coli
Kicbsiclla pneumoniac
Acinelolxxc tor bomann
Pseuxdonnonis cerungirosra
5.Methicillin-resistant staphylococcus aureus (MRSA)
Mechanisms of drug resistance (กลไกการดื้อยา)
ㆍ1. เชื้อสร้างเอนไซม์มาทำให้ยาหมดฤทธิ์ เช่นเชื้อบางชนิดสร้างเอนไซม์ penicillinase ทำลายโครงสร้างของยากลุ่ม penicilin
ㆍ2. ลดการนำยาเข้าเซลล์ของเชื้อแบคเรียหรือเพิ่มการขับยาออกนอกเซลล์ เช่นยากลุ่ม sulphonamides, tetracyclines
ㆍ3. เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเชื้อแบคทีเรีย ณ ตำแหน่งที่เป็นเป้าหมายที่ยาไปออกฤทธิ์ เช่น เชื้อที่ดื้อยา erythromycin มีการเปลี่ยนแปลงของไรโบโซมทำให้ยาเข้าจับไม่ได้
DRUG COMBINATIONS (การใช้ยาร่วมกัน)
ㆍเพื่อเสริมฤทธิ์ในการรักษาเช่นการใช้ Co-trimoxazole
ㆍ ใช้ในผู้ป่วยติดเชื้อที่มีอาการรุนแรง เช่น การใช้ penicillin ร่วมกับaminoglycoside ในการรักษาการติดเชื่อในกระแสเลือด
ㆍ ใช้รักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อมากกว่า 1 ชนิด โดยที่ยาเพียงชนิดเดียวไม่ครอบคลุมเชื่อทั้งหมด
ㆍ เพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อที่มีอัตราการดื้อยาสูง เช่น เชื้อวัณโรค
DRUG COMBINATIONS (การใช้ยาร่วมกัน)
ㆍเพื่อเสริมฤทธิ์ในการรักษาเช่นการใช้ Co-trimoxazole
ㆍ ใช้ในผู้ป่วยติดเชื้อที่มีอาการรุนแรง เช่น การใช้ penicillin ร่วมกับaminoglycoside ในการรักษาการติดเชื่อในกระแสเลือด
ㆍ ใช้รักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อมากกว่า 1 ชนิด โดยที่ยาเพียงชนิดเดียวไม่ครอบคลุมเชื่อทั้งหมด
ㆍ เพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อที่มีอัตราการดื้อยาสูง เช่น เชื้อวัณโรค
Classification of Antibacterial agents
Bactericidal
Penicillins
Cephalosporins
Aminoglycosides
Quinolones
Co-trimoxazole
Bacteriostatic
Erythromycin
Tetracyclines
Chloramphenicol
Sulphonamides
Trimethoprim
Antibiotics Affecting the Bacterial Cell Wall
B-LACTAM ANTIBIOTICS
ㆍมีโครงสร้างหลักเป็น B-lactam ring
ㆍ สามารถถูกทำลายด้วยเอนไซม์ B-lactamase enzymes ของเชื้อบางชนิดเช่นStaphylococcus, Haemophilus influenzae
ㆍ เป็น bactericidal
ㆍ จับกับ penicillin-binding protein (PBP)ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ transpeptidase ทำให้เซลล์แตก (เกี่ยวข้องกับขั้นตอนสุดท้ายในการสังเคราะห์ peptidoglycan)
Beta-LACTAM ANTIBIOTICS
ㆍPenicillins
ㆍCephalosporins
ㆍMonobactams
ㆍaztreonam
Carbapenems
・Imipenem
ㆍMeropenem
ㆍdoripenem
Glycopeptides
ㆍVancomycin
ㆍTeicoplanin
ㆍDalbavancin
Contraindications/Precautions ข้อห้ามใช้ ข้อควรระวัง
-ผู้ที่แพ้ยา penicillins
ผู้ป่วยโรคไต
ไม่ควรใช้ร่วมกับยากลุ่ม bacteriostatic เช่น
erythromycin, tetracycline
การนำไปใช้ทางคลินิก
Penicillin G (IV)
benzathine penicillin
ซิฟิลิส หนองใน
ติดเชื้อทางเดินหายใจ
Penicillin V
ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
Ampicillin, Amoxycillin
ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
Dicloxacillin,Cloxacillin
ติดเชื้อที่ผิวหนัง และเยื่อบุต่างๆ (แผล
หนอง)
Amoxi-clavulonate
ติดเชื้อแบคทีเรีย gr- ที่ผลิต blactamaseeta-ติดเชื้อ H.influenza ที่ดื้อยา penicillins
Piperacillin,Ticacillin,Carbenicillin
ติดเชื้อในโรงพยาบาล เชื้อดื้อยา
Cephalosporins
มีโครงสร้างทางเคมี กลไกการออกฤทธิ์และ
ผลข้างเคียงคล้าย กับ penicillin (ทนต่อ B-lactamases
มากกว่า/ทนกรดดีกว่า/ออกฤทธิ์กว้างกว่า)
Adverse effects
ㆍประมาณ 10% ของผู้ที่แพ้ penicillin จะแพ้ cephalosporins
โดยเฉพาะ รุ่นที่ 1
ㆍมีพิษต่อไต โดยเฉพาะถ้าใช้ร่วมกับยาที่มีพิษต่อไตอื่น เช่น
furosemide, aminoglycosides
ㆍยารุ่นที่ 3 บางตัวมีผลูเพิ่ม prothrombin times (ทำให้เกิด
ภาวะเลือดออกง่าย ซึ่งแก้ได้โดยให้ vitamin K)
Protein Synthesis Inhibitorsยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างโปรตีนของเชื้อจุลชีพ
กลไกการออกฤทธิ์
ㆍ ยังยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย โดยุจับกับ
bacteria ribosome subunit ซึ่งเป็นบริเวณที่มีการสร้าง
โปรตีนของแบคทีเรีย
ㆍbacteria ribosome
ㆍ30S หน่วยเล็ก
50S หน่วยใหญ่
Aminoglycosides
มีฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมลบดี
มีฤทธิ์ต่อแบคทีเรียแกรมบวกบางตัว เช่น
staphylococci
ไม่มีฤทธิ์ต่อ anaerobes
มีฤทธิ์ต้านเชื้อวัณโรค
คุณสมบัติทางเภสัชวิทยา
ถูกดูดซึมได้น้อยมากเมื่อให้โดยการรับทาน
ผ่านรกได้
ไม่สามารถซึมผ่านเข้าน้ำไขสันหลัง
ขับถ่ายออกทางปัสสาวะในสภาพที่มีฤทธิ์
พบว่ามีปริมาณยาที่ renal cortex และendolymph ของหูชั้นใน
การนำไปใช้ทางคลินิก
ㆍ รักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย gr-
.รักษาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ, โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ㆍ รักษาวัณโรค (ยาทางเลือก)
ㆍ ใช้ร่วมกับ penicillin หรือ vancomycin ในการรักษาเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ㆍใช้ป้องกันการติดเชื้อก่อนการผ่าตัดลำไส้
ㆍมีในรูปแบบยาทาภายนอก รักษาแผลติดเชื้
อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อไต
พิษต่อหู
การได้ยิน
การทรงตัว
ทำให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อหายใจ
อาการชาตามปลายมือปลายเท้า หรือรอบปาก
ผื่นแพ้ยา (จากการใช้ยาทาผิวหนัง)
Aminoglycosides ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยโรคไตรุนแรง
หญิงมีครรภ์ และให้นมบุตร
การใช้ร่วมกับยาอื่นที่มีพิษต่อไต/พิษต่อหู
Macrolides
Bacteriostatic ออกฤทธิ์กว้าง
ㆍErythromycin ไม่ทนกรด
ㆍมีการดูดซึมดี กระจายทั่วร่างกาย
ㆍ เปลี่ยนแปลงที่ตับก่อนขับออก (มีพิษต่อตับ)
ㆍ ระวังการใช่ในคนไข้โรคตับ ระวังการใช้ร่วมกับยาอื่น เช่น
theophylline
ยับยั้งการทำงานของ
เอนไซม์ cytochrome
p450 มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงยาอื่นน้อยลง
จนอาจทำให้เกิดพิษ
อาการไม่พึงประสงค์
Gl disturbance
Ototoxicity
Jaundice
QTc prolongation
การนำไปใช้ทางคลินิก
ㆍ ใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ penicillins ในการรักษาโรคติดเชื้อทางเดิน
หายใจส่วนบน
·รักษาโรคคอตีบ ไอกรน
·รักษาโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง (ปอดอักเสบ)
(clarithromycin, azithromycin)
ㆍการรักษาโรคกระเพาะอาหาร จากเชื้อ H.pyroli
(clarithromycin ใช่ร่วมกับยาอื่น)
ㆍการรักษาโรคหนองในเทียม (azithromycin
Chloramphenicol
คุณสมบัติทางเภสัชวิทยา
Broadspectrum
ถูกดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร
กระจายเข้าสู่น้ำไขสันหลังได้
ยาถูกทำลายโดยตับ
ขจัดออกทางไต น้ำดี
ใช้ในโรคติดเชื้อจาก
Anaerobe bacteria
H. influenzae
Rickettsia
แบคทีเรียแกรมลบ
อาการไม่พึงประสงค์
กดการสร้างเม็ดเลือด
กดการทำงานของไขกระดูก
(Aplastic anemia)
Gray Baby Syndrome ในเด็กทารก
การแพ้ยา
Lincosamides
การออกฤทธิ์
แบคทีเรียแกรมบวก
Staphylococci
Anaerobic
อาการไม่พึงประสงค์
การแพ้ยา
Pseudomembranous colitis(ท้องเดินรุนแรง อาเจียน ไข้ปวดท้องมาก)
Inhibition of DNA or RNA
synthesis
Fluoroquinolones
มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA gyrase (gram-) และ/หรือtopoisomerase IV (gram+)ซึ่งเป็นเอนไซม์จำเป็นสำหรับDNA replication ของแบคทีเรีย ทำให้เซลล์ตาย
Bactericidal
ㆍNorfloxacin
ㆍCiprofloxacin
ㆍOfloxacin
ㆍMoxifloxacin
・levofloxacin
ยาถูกดูดซึมได้ดีเมื่อให้ทางการรับประทาน(moxifloxacin,levofloxacin ดูดซึม>90%)
ㆍนม ยาลดกรด ธาตุเหล็กมีผลรบกวนการดูดซึม
ㆍยาขับออกทางไตเป็นหลัก(ยกเว้น moxifloxacin)
ㆍCiprofloxacin มีผลยับยั้ง p45
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
ปวดศีรษะ มึนงง ชัก
เอ็นอักเสบ
Superinfection (เช่น เชื้อราที่ช่องคลอด)
Phototoxicity (severe sunburn)
Hepatotoxicity
คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ
ข้อควรระวัง
ㆍ ไม่ควรใช้ร่วมกับยาลดกรด ธาตุเหล็ก
ㆍ ไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์ เด็ก
ㆍ มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง อาจทำให้เกิดการชักในผู้ป่วยโรคลมชัก
ㆍ ระวังการใช่ในคนสูงอายุที่เป็นโรคหัวใจ
ㆍเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดพิษจากยา theophyline
การนำไปใช้ทางคลินิก
. รักษาการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ㆍรักษาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หนองในแท้
(อัตราการดื้อยาสูงในปัจจุบัน)
ㆍรักษาการติดเชื้อทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสียจากแบคทีเรีย
ㆍ รักษาการติดเชื้อทางเดินหายใจ
Sulfonamides and
Trimethoprim
Sulfamethoxazole,sulfadiazine,sufisae
ㆍTrimethoprim
ㆍ ออกฤทธิ์โดยยับูยั้งการสังเคราะห์ folic acid ซึ่งเป็นสารจำเป็นสำหรับเชื้อในการสร้าง DNA, RNA, และ proteins
ㆍเป็น bacteriostatic แต่เมื่อให้ร่วมกัน เป็น bactericidal
ㆍออกฤทธิ์กว้าง มีฤทธิ์ต่อเชื้อ gram-negative bacteria,gram-positive bacteria, klebsiella, and E. coli
อาการไม่พึงประสงค์
แพ้ยา Stevens-Johnson syndrome
พิษต่อระบบเลือด
ตกตะกอนที่ไต
Phototoxicity (severe sunburn)
ตับอักเสบในเด็กทารกเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด kernicterus( ดีซ่าน มี bilirubin เพิ่มขึ้นมีผลต่อสมอง)
การนำไปใช้ทางคลินิก
โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ต่อทลูกหมากอักเสบ
โรคติดเชื้อที่กระดูกและข้อ และผิวหนัง
ทาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
Mycobacterial Infections
ยาต้านวัณโรค
ยาต้านวัณโรค
สาเหตุจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis เป็นเชื้อที่อาศัยอยู่ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตอื่น เจริญเติบโตอย่างช้าๆ
ใช้เวลารักษานาน อย่างน้อย 6 เดือน และต้องให้ยาร่วมกันหลายตัวเพื่อป้องกันการดื้อยา
Isoniazide
•กลไกการออกฤทธิ์: ยับยั้งการสังเคราะห์ mycolic acid ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของผนังเซลล์เชื่อ mycobacteria
•ดูดซึมดีจากทางเดินอาหารยาถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับโดยขบวนการ acetylation ทําให้หมดฤทธิ์และขับออกทางไต
•ยับยั้ง cypP-450 ทำให้ยาอื่นถูกทำลายน้อยลง
•ใช้รักษา (combine drugs) และป้องกันวัณโรค (ยาเดี่ยว)
•หากรับประทานพร้อมยาลดกรดจะดูดซึมน้อยลงมีพิษต่อระบบประสาทส่วนปลายชาปลายมือปลายเท้า (ป้องกันโดยให้วิตามิน B6 เสริม)
Rifampin
•กลไกการออกฤทธิ์: ยับยั้งการสังเคราะห์ RNA (ยับยั้งเอนไซม์ DNA-dependent RNA polymerase
•ดูดซึมดีจากทางเดินอาหารกระจายตัวดีผ่านเข้าสู่สมองได้ยาถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับโดย P450
•เหนี่ยวนำ P450 ทำให้ยาอื่นถูกทำลายมากขึ้นเช่นยาคุมกําเนิด ketoconazole, warfarin
••ใช้รักษาวัณโรค (combine drugs) และโรคติดเชื้ออื่นเช่นเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ Haemophilus influenzae
•ยาทำให้ปัสสาวะเหงื่อมีสีแดงปวดกล้ามเนื้อมีพิษต่อตับ
Ethambutol
•กลไกการออกฤทธิ์: ยับยั้งการสังเคราะห์ arabinoglycan (ยับยั้ง arabinosyl transferase) เป็น bacteriostatic
•ดูดซึมดีจากทางเดินอาหารกระจายตัวดีผ่านเข้าสู่สมองได้ยาขับออกทางไต
•ใช้รักษาวัณโรค (combine drugs)
•ผลข้างเคียง: ปวดข้อปวดกล้ามเนื้อกรดยูริกเกินตับอักเสบ
ประสาทตาอักเสบ
(มองภาพไม่ชัดบอดสีเขียว-แดง)
Pyrazinamide
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งการสังเคราะห์ mycolic acid (ยับยั้งfatty acid synthetase 1)
ดูดซึมดีจากทางเดินอาหาร กระจายตัวดี ผ่านเข้าสู่สมองได้ยถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับและขับออกทางไตใช้รักษาวัณโรค (combine drugs)
ผลข้างเคียง : ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ กรดยูริกเกิน ตับอักเสบ
Antifungal drugs
ยาต้านเชื้อรา
SYSTEMIC ANTIFUNGAL
DRUGS
Amphotericin B.
กลไกการออกฤทธิ์: จับกับ ergosterol ของเชื้อราทำให้เกิดรูจากนั้นสารที่จำเป็นต่างๆรั่วออกและตายในที่สุด
วิธีใช้ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ IV infusion 1 mg ประมาณ 30 นาทีและค่อยๆเพิ่มขนาดยา 0.25 ถึง 1 mg / kg / day
อาการไม่พึงประสงค์จากยาอาจทำให้มีไข้หนาวสั่นความดันโลหิตลดลง
Flucytosine (5-FU)
กลไกการออกฤทธิ์ : จับกับเอนไซม์ permease (ไม่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ส่งผลให้ทำลายกรดนิวคลิอิก และยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของเชื้อรา
วิธีใช้
ㆍ50-150 mg/kg โดยแบ่งรับประทาน 4ครั้งต่อวัน
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:
คลื่นไส้ อาเจียน
เพิ่มระดับ blood urea nitrogen (BUN)
Azole antifungals
กลไกการออกฤทธิ์ :
ยับยั้งเอนไซม์ CYP450 ทำให้
ลดการสังเคราะห์ ergosterol ซึ่งเป็นองค์ประกอบ
ของเชื้อรา
ㆍยาในกลุ่มนี้มีทั้งรูปแบบรับประทาน ทาเฉพาะที่
สอดช่องคลอด
KETOCONAZOLE
กินครั้งละ1 เม็ด (200 mg) วันละ 1 ครั้ง
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:
เนื่องจากมีพิษต่อตับมาก ปัจจุบันจึงไม่นิยมใช้แบบ
รับประทาน
Fluconazole
ใช้รักษา cryptococcal meningitis, invasive candidiasis
รับประทาน 150 Mg ครั้งเดียว สำหรับเชื้อราในช่องคลอด
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:มีอาการไม่พึงประสงค์น้อยกว่ายาอื่นในกลุ่ม azole
traconazole
มีฤทธิ์ดีที่สุดในกลุ่ม azole และเป็นยาที่แนะนำให้ใช้รักษากลากทั้งที่ตัว และเล็บ
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:พิษต่อตับน้อยกว่า ketoconazole
ㆍ Candidiasis
VORICONAZOLE
ใช้รักษา invasive candidiasis, aspergillosis
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:
พิษต่อตับน้อยกว่า ketoconazole
Micafungin
ใช้รักษา invasive candidiasis, aspergillosis
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องเสีย
ปวดศีรษะ
DRUGS FOR
CUTANEOUS MYCOSES
Griseofulvin
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อรา
ใช้รักษา dermatophyte (กลาก), กลากที่ขาหนีบ
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:รู้สึกไม่สบายท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน
Terbinafine
ㆍกลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งเอนไซม์ squalene epoxidaseส่งผลให้ลดการสังเคราะห์ ergosterol และทำให้เชื้อราตาย
ㆍใช้รักษา dermatophyte (กลาก), กลากที่ขาหนีบ,เกลื้อน
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:รู้สึกไม่สบายท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียนระคายเคืองบริเวณที่ทา (แบบ topical)
Nystatin
ㆍกลไกการออกฤทธิ์ : จับกับ ergosterol ของเชื้อราทำให้เกิดรู จากนั้นสารที่จำเป็นต่างๆรั่วออก และตายในที่สุด
ㆍใช้รักษา Oral Candidiasis
อาการไม่พึงประสงค์จากยา:อาจทำให้ลิ้นรับรสเปลี่ยนไป (ชั่วคราว)
Clotrimazole
ㆍกลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งเอนไซม์ CYP450 ทำให้ลดการสังเคราะห์ ergosterol ซึ่งเป็นองค์ประกอบของเชื้อรา
ㆍ ใช้รักษาเชื้อราในช่องคลอด
ㆍ500 mg ครั้งละ 1เม็ด สอดครั้งเดียว หรือ
ㆍ100 mg ครั้งละ 1เม็ด สอดวันละ1ครั้ง นาน 6วัน
อาการไม่พึงประสงค์จากยา
ㆍระคายเคืองบริเวณที่ใช้ เช่น อาจบวมแดง หรือคัน
Tolnaftate
กลไกการออกฤทธิ์ : รบกวนการเจริญเติบโตของเชื้อรา
ใช้รักษาเชื้อราที่ผิวหนัง กลาก เกลื้อน คันในร่มผ้า
อาการไม่พึงประสงค์จากยาระคายเคืองบริเวณที่ใช้
Antiviral drugs
ยาต้านไวรัส
Respiratory virus
infection
ไข้หวัดใหญ่
เกิดจากการติดเชื้อ influenza virus ซึ่งมี 3 ชนิดคือ A, B และ C
ผู้ป่วยมักมีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัวอ่อนเพลีย น้ำมูกไหล
การรักษา : รักษาตามอาการ เช่น ให้ยาลดไข้ ยาแก้ปวดให้ยาต้านไวรัส
Oseltamivir
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งเอนไซม์ neuraminidaseอย่างเฉพาะเจาะจง ซึ่งเป็นเอนไชม์สำคัญที่ใช้แบ่งตัวเพิ่มจำนวนของไวรัส influenza ทั้งชนิด A และ B
อาการข้างเคียงจาการใช้ยา คลื่นไส้ อาเจียน รู้สึกไม่สบายท้อง
Antiherpes and
Cytomegalovirus (CMV)
Acyclovir
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้ง DNA polymeraseส่งผลให้ยับยั้งการสังเคราะห์ DNA ของไวรัส
ใช้รักษา
Herpes simplex virus (HSV-1 และ HSV-2)
Herpes labialis (เริมที่ปาก)
Gential herpes (เริมที่อวัยวะเพศ)
herpes zoster (งูสวัด)
เป็นครั้งแรก : 200 Mg วันละ 5 ครั้ง นาน 7-10 วัน หรือ
400 mg วันละ 3 ครั้ง นาน 7-10 วัน
เป็นซ้ำ (recurrence) : 400 mg วันละ 3 ครั้ง นาน 5 วัน
หรือ 800 mg วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน
ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ (เป็นซ้ำบ่อยๆ > 6ครั้งต่อปี)
400 mg วันละ 2 ครั้ง นาน 4-6 เดือน
Antiretro virus
(ยาต้าน HIV)
NRTIS
กลไกการออกฤทธิ์ : competitive inhibition of HIV-1 reverse transcriptase
เปลี่ยน RNA เป็น DNA ของไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์ของยา คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ง่วงซึม
PROTEASE INHIBITORS
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งเอนไซม์ viral proteaseที่ใช้ในการแบ่งตัวของไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์ของยา คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
ENTRY INHIBITORS
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งการเข้าสู่เซลล์ของไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์ของยา คลื่นไส้ อาเจียน ความดันลดขณะเปลี่ยนท่า (Postural hypotension)
INTEGRASE INHIBITORS
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้งการแทรกตัวของ DNA virus เข้าสู่เซลล์ร่างกาย (genome cell)
อาการไม่พึงประสงค์ของยา คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
Anti-Hepatitis virus
(ไวรัสตับอักเสบ)
Interferons
กลไกการออกฤทธิ์ : ยับยั้ง viral RNA translation
การรักษา: ฉีดเข้าผิวหนัง SC ทุกสัปดาห์ ประมาณ 4-6 เดือน สำหรับใช้รักษา ไวรัสตับอักเสบบี และซี ชนิดเรื้อรัง
อาการไม่พึงประสงค์จากยา :อาการคล้ายไข้หวัด เช่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อรู้สึกไม่สบายท้อง
Lamivudine (3TC)
กลไกการออกฤทธิ์ : reverse transcriptase inhibitors ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัส
ㆍใช้รักษาไวรัสตับอักเสบบี และ HIV
รับประทานครั้งละ 1เม็ด (100 mg) วันละ 1ครั้ง
อาการข้างเคียงจาการใช้ยาคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
Adefovir
กลไกการออกฤทธิ์ : reverse transcriptase inhibitors ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัส
ใช้รักษาไวรัสตับอักเสบบี
ㆍ รับประทานครั้งละ 1เม็ด (10 Mg) วันละ 1ครั้ง
อาการข้างเคียงจาการใช้ยา คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
อันตรายที่เกิดจากการใช้ยาต้านจุลชีพ
เกิดการดื้อยา
2 มีโอกาสติดเชื้อแทรกซ้อน
การแพ้ยา
การเกิดพิษและอาการไม่พึงประสงค์จากย