Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิวิทยาของเซลล์และเนื้อเยื่อ ( Cellular Pathology ) - Coggle Diagram
พยาธิวิทยาของเซลล์และเนื้อเยื่อ
( Cellular Pathology )
Cell Biology
Definition (คำนิยาม)
เซลล์ : หน่อยทีเล็กที่สุด ดำรงชีวิตอย่างอิสระ
Homeostasis : รักษาสมดุลภายในเซลล์ให้เข้ากับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมรอบเซลล์นั้น
ส่วนประกอบเซลล์ที่สำคัญ
Cell membrane : ป้องกัน, เยื่อเลือกผ่าน
Nucleus: ศุนย์ควบคุม
Cytoplasmic organelles
rough endoplasmic reticulum (RER) ขรุขระ : สังเคราะห์โปรตีน
smoot endoplasmic reticulum (SER) เรียบ : สังเคราะห์ไขมัน
golgi apparatus : โกดังจัดเก็บโปรตีนจาก ER
ribosome : สังเคราะห์โปรตีน
mitochondria : สร้าง ATP
lysosome : ย่อยสลายโปรตีน
Cytoskeleton : ค้ำจุนโครงร่างเซลล์
Homeostasis : เซลล์รักษาสมดุลเพื่อความอยู่รอดและทำหน้าที่ได้อย่างปกติ
ปัจจัยภายใน ถูกความคุมโดยสารพันธุกรรม
ปัจจัยภายนอก ได้แก่ปริมาณอาหาร สารที จําเป็น และสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกเซลล์
หน้าที่
สร้างสารและพลังงาน
สร้างเซลล์ ซ่อมแซมเซลล์
ควบคุมสมดุลชีวเคมี
ขับของเสีย
การแบ่งชนิดเซลล์
Labile cells. : อายุขัยสั้นเพิ่มจํานวนทดแทนได้ตลอด
เซลล์ผิวหนัง
เซลล์เยื่อบุทางเดินอาหาร
ทางเดินหายใจ
ไขกระดูก
ทางเดินปัสสาวะ
Stable cells : ไม่เพิ่มจํานวน สร้างทดแทนส่วนที่ถูกทําลายไป
เซลล์ตับ
เซลล์กระดูก
(Osteoblasts)
Permanent cells : อายุยืนยาว เพิ่มจํานวนระยะตัวอ่อนเท่านั้น
Neuron
Skeleton myocytes
Cardiac myocytes
การปรับตัวของเซลล์ และการสะสมภายในเซลล์
Hypertrophy
Size of cells in tissue / organ
เกิดใน cell l ที ไม่สามาถแบ่งตัวได้ skeleton cardio smoot musscle -เซลล์ปรับตัวเนื่องจากต้องทํางานเพิ่ม เพื่อชดเชยตอบสนองฮอร์โมน
Synthesis of numerous cellular protein - เพิ่มจํานวน macromolecule เช่น ไขมัน โปรตีน กรดนิวคลิอิก
เพิ่มจํานวน organelles
Physiologic hypertrophy Pregnant uterus / Sex organ / Lactating breast / Muscle
Pathologic hypertrophy Hypertension or aortic valve diseae (กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด)
Hyperplasia
Number of cell in tissue / organ
Physiologic hyperplasia - เยื่อบุมดลูก เพิ่มจำนวนหลังจากเสียสมดุลของเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนถูกรบกวนนานเกินไป - Skin wart หรือหูด (papilloma virus)
Physiologic hyperplasia - เยื่อบุมดลูกเพิ่มจํานวนในระหว่างที มีรอบเดือน
-ต่อมน้ำนม เพิ่มจํานวนเมื่อเข้าสู่วัยสาวหรือระว่างตั้งครรภ์
Atrophy
Size of cells in tissue / organ สาเหตุ เพราะทํางานน้อยลง สูญเสียเส้นประสาทมาเลี้ยงเลือดไปเลี้ยงน้อย ขาดฮอร์โมนกระตุ้น ขาดเเคลนอาหาร อายุมาก
Physiological ต่อมน้ำนมมีขนาดเล็กลงหลังจากหย่านมลูก , skeleton muscle fibers ลดขนาดลงเมื่อวัยชราภาพ
Protein synthesis or Protein degradation สร้างโปรตีนน้อยลง แต่สลายโปรตีนมากขึ้น
Pathological : Brain atrophy
Metaplasia
เซลล์เจริญเต็มที่ชนิดหนึ่งถูกแทนที่ โดยเซลล์อีกชนิดหนึ่ง - เกิดจากการปรับตัวของเซลล์เดิมที ไวต่อความกดดัน (stress) โดยเซลล์อื่นทานต่อสิ่งแวดล้อมได้ดีกว่า
EX. ในคนทีสูบบุหรี่นานๆcolumnar epith. ถูกแทนด้วย stratified squamous epith.
Aplasia
ความล้มเหลวของการผลิตเซลล์ในระหว่างการพัฒนาตัวอ่อนทารกใน ครรภ์ Aplasia ส่งผลให้เกิด Agenesis ต่อมาในชีวิตอาจเกิดการสูญเสียเซลล์สารตั้งต้นในเนื้อเยื่อที่มีการงอก ขยายอย่างถาวร
Dysplasia
การเปลี่ยนแปลงที่ผิดไปจากธรรมดา เกิดจากการอักเสบหรือการระคายเรื้อรังเปลี่ยนนาดเเละรูปร่างเซลล์ มีการเจริญไมีเป็นระเบียบ นิวเคลียสใหญ่ขึ้น รูปร่างไม่แน่นอน ติดสีเข้มขึ้น precursor of cancer
Cell Injury การบาดเจ็บของเซลล์
การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
(Morphologic Change)
Irreversible Injury
การสะสมสารมีสีภายในเซลล์
Hemosiderin กําเนิดจากฮีโมโกลบิน มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ
Bilirubin เหลืองๆเขียวๆ ของน้ำดีกําเนิดจาก Hb แต่ไม่มีเหล็กสะสม
Melanin pigment จาก Melanocyte ของชั้น epidermis ด้วยเอนไซม์Tyosinase
Nucleus changes
Pyknosis นิวเคลียสเล็กลง
Karyprhexis นิวเคลียสแตกเป็นชิ้น
Karyolysis โครมาตินสลายตัว
Reversible Injury
Choromatin clumping
น้ำสะสมในเซลล์มากขึ้น “Hydropic change
Glycogen ลดลง ทําให้เซลล์ดูเรียบสวยขึ้น
เซลล์บวม (cell swelling)
น้ำนอกเซลเข้ามาในเซลล์
อวัยวะสีซีดลง การเต่งตัวเพิ่มขึ้น
น้ำหนักเพิ่มขึ้น เซลล์ใหญ่ขึ้น ไปกด Microvascular ของอวัยวะ
กลไกการเกิดภัยอันตรายต่อเซลล์
Chemical cell injury
เซลล์บวม (cell swelling)
มีแคลเซียมสะสมในเซลล์กระตุ้นใหม่การหลังเอนไซม์
phospholipase,protease,endonuclease
Free radical cell injury
Single unpaired electron
ทําลายโครงสรา้งเยื่อหุ้ม ,ยับยั้งการทํางานของเอนไซม์ทําลายดีเอ็นเอ
Hypoxic cell injury
Cell death
Necrosis หรือกการเน่าของเซลล์
เฉพาะ Pathologic process
• การเปลี่ยนแปลงรูปร่างหลังเซลล์ตายด้วยการย่อยตัวเอง
• มักเป็นรูปแบบการตายที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์ได้รับบาดเจ็บหลังขาดเลือด ,ได้รับ Toxins, ติดเชื้อ
Apoptosis
Physiologic process ส่วนมาก
การตายอัตโนมัติ เมื่อหมดอายุการใช้งาน
ชนิดของการเน่าแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์ที่ตายแล้ว
การเน่าชนิดเนื้อเเข็ง
การเน่าชนิดมีสภาพเหลว
การเน่าแบบเนยแข็ง
การเน่าตายของไขมันจากเอนไซม์
การเน่าตายแบบเเก็งกรีน
Fibrinoid necrosis
สาเหตุของภยันอันตรายที่เกิดกับเซลล์
เซลล์ขาดออกซิเจน
พบบ่อยสุดจากการขาดเลือด
เนื่องจากการอุดตันของหลอดเลือดหรือความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง
Ischemic : Blood flow to tissue
Hypoxia : O2 in tiissue
เซลล์ที่ไวต่อการขาดเลือดมาก : cardiac muscle,kidney,liver ,brain
สาเหตุทางเคมี
น้ำตาลและเกลือ
สารเคมีในเกษตรและอุตสาหกรรม
ยาบางชนิด เช่น ยาต้านมะเร็ง
โลหะหนัง ได้แก่ ตะกั่วปรอท (โรคมินามาตะ)
พิษจากจุลินทรีย์
(Infection agents
โดย exotoxin และ endotoxin จาก bacteria
clostridium botulinum ทําให้หายใจไม่สะดวก อัมพาตตามแขนขา
Salmonella sp. ทําให้คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสียรุนแรง
อันตรายทางฟิสิกส์
(Physical injuries
ความผิดปกติทางพันธุศาสตร์
ระดับยีน :โรคneurofibromatosis,โรคนิวคีโตยูเรยี ,โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว
ระดับโครโมโซม : ดาวน์ซินโดม
ปฏิกิริยาภูมิคุ้มกัน
(Immune mechanism)
ความไม่สมดุลของสารอาหารในร่างกาย
(nutritional imbalance)
ภัยอันตรายดังกล่าว ส่งผลรบกวนต่อ 4ระบบ
การสร้างพลังงาน
เยื่อหุ้มเซลล์
ความเสถียรภาพของสารพันธุกรรม
กระบวนการเมตบอลิซึม