Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติในการเคลื่อนไหวจากปัญหาของระบบกระดูก ข้อ เอ็น กล้ามเนื้อ -…
ความผิดปกติในการเคลื่อนไหวจากปัญหาของระบบกระดูก ข้อ เอ็น กล้ามเนื้อ
กระดูก
เป็นอวัยวะที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างแข็งภายใน (endoskeleton)
หน้าที่หลักของกระดูก
การป้องกันอวัยวะภายในที่สำคัญ
เช่น กะโหลกศีรษะที่ป้องกันสมอง หรือกระดูกซี่โครงที่ป้องกันอวัยวะในทรวงอกจากอันตรายและการกระทบกระเทือน
การค้ำจุนโครงร่างของร่างกาย
เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นต่าง ๆ ประกอบเข้าด้วยกันเป็นข้อต่อที่ทำให้ร่างกายเคลื่อนไหว
การเก็บสะสมแร่ธาตุ
โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส
นอกจากนี้ยังดึงเอาโลหะหนักบางชนิดที่อยู่ในกระแสเลือดมาเก็บไว้
เพื่อลดความเป็นพิษลง
การผลิตเม็ดเลือด
โดยไขกระดูกที่อยู่ภายใน เป็นแหล่งผลิตเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวที่สำคัญ
Types of bone
การจำแนกกระดูก
แบ่งตามความหนาแน่นของเนื้อกระดูก
Spongy (cancellous) bone
ลักษณะคล้ายฟองน้ำ
ประกอบด้วย bony spicules or trabeculae (ชิ้นกระดูกขนาดเล็กๆ)
มีช่องเล็กแทรกอยู่ในชิ้นกระดูกแข็งเล็กที่ต่อเนื่องเป็นร่างแห
มักพบกระดูกชนิดนี้ให้เป็นที่อยู่ของไขกระดูก
Compact bone
ลักษณะทึบแน่น
แบ่งตามลักษณะรูปร่างที่เห็น
Long bones (กระดูกแข็งยาว)
เป็นกระดูกรูปร่างยาว บริเวณหัวท้ายของกระดูก เรียกว่า Epiphysis ภายในจะพบกระดูกพรุน (Spongy bone)
ปกคลุมภายนอกด้วยกระดูกแข็ง (Compact bone) ส่วนบริเวณตรงกลาง (Shaft) เรียก Diaphysis
กระดูกส่วนนี้โดยมากจะเป็นกระดูกแข็ง ในบริเวณนี้จะพบช่องว่างที่เรียกว่า Medullary canal ซึ่งบรรจุไขกระดูก (Bone marrow)
Short bones (กระดูกแข็งสั้น)
มีความกว้างและความยาวเกือบเท่ากัน เช่น carpal bones
Flat bones (กระดูกแข็งแผ่น)
เช่น กระโหลกศีรษะ (calvarium หรือ skull)
sternum ประกอบด้วย compact bone ด้านนอกคลุมแกนกลางซึ่งเป็น spongy bone
Irregular bone
ชิ้นกระดูกแข็งมีลักษณะซับซ้อน
เช่น vertebra, ethmoid bone
Wheater’s functional histology
, 2000
Woven bone
กระดูกแข็งที่เจริญไม่เต็มที่
มีการเรียงตัวของเส้นใยคอลาเจนประสานกันไม่เป็นระเบียบ
พบกระดูกแข็งชนิดนี้ใน osteoid (กล่าวภายหลัง) ซึ่งสร้างมาจาก osteoblasts
Lamellar bone
กระดูกแข็งที่มีแผ่นใยคอลาเจนเรียงตัวขนานกันอย่างเป็นระเบียบ
Bone growth
การเจริญของระบบกระดูก
Paraxial mesoderm
พัฒนาเป็นกระดูกแกน(axial skeleton)
Lateral plate mesoderm
พัฒนาเป็นกระดูกรยางค์ (appendicular skeleton)
Neural crest cell
พัฒนาเป็นกระดูกหน้า (skeleton of the face)
การสร้างกระดูก
Membranous bone formation
เป็นการสร้างกระดูกแข็งจากเนื้อเยื่อ mesenchyme
โดยไม่มีกระดูกอ่อนเป็นต้นแบบ
การสร้างกระดูกวิธีนี้เกิดที่กระดูกแบน เช่น กะโหลก(skull)
Endochondral bone formation
โดยมีกระดูกอ่อนเป็นต้นแบบ
ต้นแบบ การสร้างกระดูกวิธีนี้เกิดที่กระดูกยาว เช่น กระดูกต้นขา (femur)
เป็นการสร้างกระดูกแข็งจากเนื้อเยื่อ mesenchyme
Bone composition
Osteoblast
เปรียบเทียบได้กับเซลล์วัยทำงานของกระดูก
ทำหน้าที่กระตุ้นการสะสมและจัดเรียงเกลือแร่ต่างๆเพื่อให้กลายเป็น Extracellular Matrix
Osteocyte
คือ Osteoblast ที่แก่ตัวขึ้นและถูกหุ้มด้วยเนื้อกระดูกไปแล้ว
Osteoclast
ทำหน้าที่ย่อยสลายเนื้อกระดูก ตามคำสั่งของ Osteocyte
Disease of the bone
osteoporosis
โรคกระดูกพรุน
ภาวะที่มีมวลกระดูกลดน้อยลงเนื่องจากมีการสลายกระดูกเร็วกว่าการสร้างกระดูก
มวลกระดูกที่ลดน้อยลงทําให้ความแข็งแรงกระดูกลดลง
จนกระทั่งในที่สุดไม่สามารถกระดูกมักจะแตกหรือหักได้โดยง่าย
สาเหตุการเกิด osteoporosis
เกิดจากกระบวนการสร้างกระดูกใหม่ทดแทนกระดูกเก่่าที่เสื่อมสภาพไม่สมดุลกับกระบวนการสลายของกระดูก
การรักษาโรคกระดูกพรุน
การปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิต หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่่ยง ร่วมกับการใช้ยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
Osteopenia
กระดูกบาง
นิยาม
แต่ก็อาจเกิดขึ้นได้ในช่วงวัยอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของกระดูกแต่ละคนในช่วงที่ยังเป็นวัยรุ่น
ภาวะนี้อาจนำไปสู่โรคกระดูกพรุนได้
เป็นภาวะที่มักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย และมักพบในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป
เป็นภาวะที่ร่างกายมีความหนาแน่นและมวลของกระดูกน้อยกว่าปกติ
สาเหตุการเกิด Osteopenia
อายุ
เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น การทดแทนกระดูกส่วนที่สึกหรออาจเป็นไปได้ช้า
เพศ
ผู้หญิงมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้มากกว่าผู้ชาย
ฮอร์โมน
การลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนในเพศหญิงอย่างการเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน
กรรมพันธุ์
ผู้ที่มีบุคคลในครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นภาวะนี้
พฤติกรรมการบริโภค
การกินอาหารที่มีแคลเซียมหรือวิตามินดีไม่เพียงพอ
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
ผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย โดยเฉพาะ การฝึกยืดกล้ามเนื้อ อาจมีความเสี่ยงต่อภาวะนี้
โรคและการเจ็บป่วย
เช่น ภาวะไทรอยด์เป็นพิษ และกลุ่มอาการคุชชิ่ง เป็นต้น
การใช้ยาบางชนิด
เช่น กลุ่มยาสเตียรอยด์ การทำคีโมหรือเคมีบำบัดที่ต้องมีการฉายรังสี
การรักษาโรคกระดูกบาง
การดูแลสุขภาพและบำรุงกระดูก
การใช้ยาบางชนิดที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสลายกระดูกหรือเพิ่มความหนาแน่นของกระดูก
เพิ่มระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่มีส่วนช่วยในการสร้างกระดูก
Osteomyelitis
กระดูกอักเสบ
นิยาม
เป็น
ภาวะติดเชื้อที่ลุกลามเข้าสู่กระดูก
โดยทั่วไปมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
สาเหตุของกระดูกอักเสบ
การติดเชื้อทางกระแสเลือด
การติดเชื้อจากแผลเปิด
การติดเชื้อจากเนื้อเยื่อหรืออวัยวะใกล้เคียง
การติดเชื้อแบคทีเรีย ในร่างกาย แล้วแพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือดจนทำให้เกิดการติดเชื้อที่กระดูก
การรักษาโรคกระดูกอักเสบ
การใช้ยา
แพทย์อาจให้ยาปฏิชีวนะหรือยาแก้ปวด
การผ่าตัด
เป็นการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงหรือเรื้อรัง
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
(rheumatoid arthritis)
นิยาม
เป็น
โรคของข้อต่อที่เกิดจากการอักเสบ
เรื้อรังของเยื่อหุ้มข้อซึ่งอยู่บริเวณรอยต่อระหว่างกระดูก
สาเหตุการเกิดโรค
ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด จากการศึกษาพบว่ามีปัจจัยหลายประการที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ได้แก่ ปัจจัยทางพันธุกรรม ปัจจัยทางการติดเชื้อ ปัจจัยทางด้านฮอร์โมนเพศ และปัจจัยทางระบบภูมิต้านทาน
การรักษา
การผ่าตัด
กรณีที่ข้อถูกทำลายไปมากแล้ว การผ่าตัดซ่อมแซมหรือเปลี่ยนข้อจะช่วยให้ข้อทำงานได้ดีขึ้น
กายภาพบำบัด
รวมถึงการออกกำลังกายเพื่อให้ข้อคงความยืดหยุ่น
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
การใช้ยา
ประกอบด้วยยารับประทานหรือยาฉีดสำหรับรักษาเฉพาะเจาะจงกับโรคเพื่อลดการอักเสบ
ข้ออักเสบจากการติดเชื้อ Septic Arthritis
นิยาม
เป็นการติดเชื้อบริเวณเนื้อเยื่อข้อต่อหรือน้ำไขข้อจนเกิดอาการอักเสบ โดยปกติมักเกิดขึ้นกับข้อต่อขนาดใหญ่เพียงหนึ่งข้อต่อ อย่างหัวเข่า สะโพก หรือหัวไหล่
สาเหตุการเกิดโรค
ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus ,Streptococcus
เชื้อโรคจากส่วนอื่น ๆ
การรักษา
การระบายน้ำไขข้อที่ติดเชื้อ
การใช้ยารักษา
ฉีดยาปฏิชีวนะเข้าทางหลอดเลือดหลังจากอาการทุเลาลงจะเปลี่ยนไปใช้ยารับประทาน
General principles
1.inflammatory process
Granulation tissue formation (repair)
Callus formation
Lamellar bone deposition
Remodeling
โรคข้อเสื่อม
osteoarthritis
นิยาม
เกิดจากการที่กระดูกอ่อนซึ่งทำหน้าที่ปกป้องและดูดซับแรงกระแทกภายในข้อเข่ามีการสึกหรอและเสื่อมสภาพลง
สาเหตุ
ปัจจัยทางพันธุกรรม
อายุ อายุมากมีโอกาสพบโรคข้อเสื่อมมากขึ้น
กิจกรรมบางอย่างที่ส่งผลให้ข้อต้องรับแรงกดมากจนเกินไปเช่น การนั่งคุกเข่า หรือนั่งพับเพียบ
โรคไขข้ออักเสบ เช่น รูมาตอยด์ เกาท์ ส่งผลให้กระดูกอ่อนถูกทำลายจนกระทั่งหมดไป
น้ำหนักตัว
การรักษา
การฉีดน้ำไขข้อเทียม
การทำกายภาพบำบัด
การรักษาด้วยการผ่าตัดการส่องกล้องล้างผิวข้อ
การรักษาด้วยยาต้านการอักเสบยาเสริมกระดูกอ่อน
มะเร็งกระดูก
(Bone cancer)
Osteochondroma
เป็นความผิดปกติของการเจริญเติบโตของกระดูก
อาการปวดที่เกิดขึ้นมักจะมีสาเหตุมาจากการอักเสบ ของถุงน้ำเหนือต่อก้อน
สามารถรักษาได้ตั้งแต่เกิดการติดตามอาการจนถึงการผ่าตัด
Enchondroma
เป็นเนื้องอกของกระดูกอ่อน hyaline พบได้บ่อยคือกระดูกนิ้วมือกระดูกต้นแขนและต้นขา
ผู้ป่วยมีอาการปวดจาก supraspinatous tendinitis
รักษาด้วยวิธี extended curettage
Giant cell tumor
สามารถพบได้ในทุกๆส่วนของร่างกาย
แต่จะพบมาก ในกระดูกรยางค์ เช่น femur และ tibia
ผู้ป่วยมาพบแพทย์ด้วยอาการปวดตอนกลางคืนในบริเวณที่มีเนื้องอก
สามารถรักษาได้หลายวิธีได้ แก่ การควบคุมอาการโดยใช้ยา
การรักษาด้วยเทคนิค non-invasive การผ่าตัด
Osteoid osteoma
ผู้ป่วยส่วนมากมาพบแพทย์ด้วยอาการปวด
การรักษาด้วยการทำ tumor resection และเสริมด้วยข้อเทียม
พบมากในช่วงอายุ 20 - 40 ปีเกิดในเพศหญิงสูงกว่าเพศชายเล็กน้อย
กระดูกบริเวณ distal femur และ proximal tibia เป็นบริเวณที่มีการเกิดสูงสุด
Diagnosis
CRP
Radio
MRI
Aspiration
Ewing sarcoma
เป็นมะเร็งของกระดูกที่พบบ่อยของเนื้องอกมะเร็งที่เกิดในกระดูกทั้งหมด
เป็นมะเร็งกระดูกชนิดที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่มีอายุน้อยกว่า 30 ปี
พบได้บ่อยในส่วนmetaphysis และมักจะขยายขึ้นไปบน diaphysis
Tendon and Ligament basic science
นิยาม
Tendon
เอ็นที่ยึดระหว่างกระดูกกับกล้ามเนื้อ
Ligament
เอ็นที่ยึดกระดูกกับกระดูก
Osteoarthritis
โรคข้อเสื่อม
เป็นโรคในกลุ่มข้ออักเสบเรื้อรังที่มีการสึกกร่อนของกระดกูอ่อนบริเวณผิวข้อเวลาข้อมีการเคลื่อนไหวกระดูกแท้จะ เสียดสีกันทำให้เกิดความเจ็บปวดและเกิดเสียงดัง
(crepitus)
Gouty Arthritis
โรคเกาต์
โรคเกาต์เป็นโรคที่เกิดจากระดับกรดยูริกในเลือดสูงขึ้น
ทำให้เกิดการอักเสบของข้อเนื่องจากมีการเกาะของ เกลือยูเรตบริเวณข้อและเอ็น (under- excretion or over-production)
ภาวะที่เกี่ยวข้องกับระดับกรดยูริก
Asymptomatic Hyperuricemia
Acute Gouty Arthritis
Intercritical Gout (symptom-freeinterval)
Rheumatoid arthritis