Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ, นางสาวรุ่งธิดา วันจงคำ 621201151 - Coggle…
บทที่ 8 การใช้ยาในผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดปัญหาการใช้ยา
1) ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงขแงร่างกายจากกระบวนการชราที่
ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์
2) ปัจจัยด้านพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุ
การใช้ยาช่วยตนเอง (self-medication)
ความร่วมมือในการใช้ยา (medication adherence)
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลวิทยาในผู้สูงอายุ(Phamacologicalchang in elderly)
1) เภสัชจลศาสตร์ (Pharmacokinetic)
เมตะบอลิสมขแงยา (drug metabolism)ขนาด,ปริมาณเลือดไผลผ่านตับ , การทางานของ เอาไซม์ตับลดลง ส่งผลตับสามารถกำจัดยาได้ลดลง
การกระจายตัวของยา(drug distribution) ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบใน ร่างกายที่มีผลต่อการกระจายตัวของยาดังนี้ ปริมาณน้ำในร่างกาย
การขับถ่ายยาทางไต(renal excretion) glomerular filtration rate , tubular secretion function และปริมาณเลือดที่ไหลผ่านไตลดลง
การดูดซึมยา (drug absorption) ระบบทางเดินอาหารของผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงงหลายอย่าง
2) เภสัชพลศาสตร์ (Phamacodynamic change)
การศึกษาการออกฤทธิ์ขอบยาต่อร่างกาย (what drug does to the body) หรือการที่ยามีผลต่อร่างกายเกี่ยวข้องทั้งผลทางด้านชีวเคมีและ สรีรวิทยาของยา
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงหรืออันตราย ยาที่เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างยา และการพยาบาล
ยาต้านโรคจิตและ โรคซึมเศร้า (antipsychotic and antidepressant drugs)
พิษต่อระบบประสาท เช่น สับสน เพ้อคลั่ง ชัก
ยาระงับปวดและลดการอักเสบ (analgesic and anti- inflammatorydrug s)
กดศูนย์การหายใจ แผลในระบบทางเดินอาหาร พิต่ออไตและ ตับ กระดูกพรุน ความจำเสื่อม
ยาที่มีผลต่อหัวใจ และหลอดเลือด (cardiovascular drugs)
โปแตสเซียมต่ำ น้ำตาลในเลือดและ กรดยูริคสูง
ยาต้านจุลชีพ (antimicrobial drugs
ค่าครึ่งชีวิตนานเป็น 2 เท่า จึงทให้พิษต่อไตมาก
ยาลดระดับน้ำตาล ในเลือด (hypoglycemic agent)
ล ภาวะน้ำตาลต่ำ ภาวะโซเดียมต่ำ ขาดสารอาหารและ แร่ธาตุ
ยาลดความดัน โลหิตสูง (antihypertensive agent)
ความดันโลหิตต่ำ ขณะเปลี่ยนท่านั่งนอนมาเป็นยืน ทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม
ยานอนหลับ (hypnotic drugs)
ง่วงงุนงง สับสน กดประสาทส่วนกลาง กดศูนย์การหายใจ
ยากันชัก (anti convulsant)
ทำให้เกิดภาวะพร่องวิตามินดี เกิดกระดูกเปราะ
ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ
2) การใช้ยาหลายชนิดร่วมกันหลายขนาน (polypharmacy)
เนื่องจากแพทย์หลายคน ส่งผลให้ เกิดปฏิกิริยาของยาต่อผู้ป่วย (drug-patient reaction) และการเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยาต่อยา
3) ความผิดพลาดจากตัวผู้ใช้ยา (human error)
การซื้อยามารับประทานเองการ รับประทานยาที่หมดอายุ
1) กระบวนการเปลี่ยนแปลงขแงร่างกายจากกระบวนการชราที่ส่งผลต่อเภสัชจลศาสตรตร์และ เภสัชพลศาสตร์
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในร่างกาย หลังจากการใช้ยาด้วยขนาดที่ใช้ในมนุษย์ เพื่อการป้องกัน การวินิจฉัยโรค และการรักษา
แนวปฏิบัติของพยาบาลในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างถูกต้องในผู้สูงอายุ
จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย
ประเมินครอบครัว ผู้ดูแลที่ใกล้ชิดผู้สูงอายุเกี่ยวกับความรู้ขอบการใช้ยา
อธิบายเกี่ยวกับการเสื่อมสภาพและการหมดอายุของยา
แนะนำผู้สูงอายุ และญาติให้ปรึกแพทย์และเภสัชกรทุกครั้ง ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง
อธิบายความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
หากพยาบาลประเมินพบว่าผู้สูงอายุมีอาการแสดงจากผลข้างเคียงขอบการใช้ยา หรือการ เกิดปฏิกิริยาต่อกันของยา ควรรีบไปพบแพทย์ทันที
ให้ความรู้เกี่ยวกับจุดประสงค์ในการใช้ยาแต่ละชนิด การออกฤทธิ์ของยา
การส่งเสริมการรักษาจากการไม่ใช้ยาผู้สูงอายุบางรายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงขอบร่างกายในวัยผู้สูงอายุ (aging process)
การประเมินและทบทวนการบริหารยาของผู้สูงอายุและผู้ดูแล
ให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบการใช้ยาหลายชนิด ค่าใช้จ่าย
ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีส่วนสนับสนุนการดูดซึมของยา
ประเมินความเข้าใจขแงผู้สูงอายุเกี่ยวกับการใช้ยา
จัดโปรแกรมการสอนเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างถูกต้อง
ประเมินเกี่ยวกับประวัติการใช้ยาของผู้สูงอายุอย่างครอบคลุม
นางสาวรุ่งธิดา วันจงคำ 621201151