Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2560 - Coggle Diagram
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2560
ปรัชญา
การศึกษาปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์อย่างเป็นองค์รวม เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่องได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุขและเหมาะสม2 ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
หลักการ :
1 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน
2 ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
3 ยึดพัฒนากาเด็กและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย
4 จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต
5 สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่าย
หลักสูตรเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
การอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก
ช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 ปี
เป็นแนวปฏิบัติการอบรมเลี้ยงดูตามวิถีชีวิตประจำวันโดยพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน
ช่วงอายุ 2-3 ปี
เป็นแนวปฏิบัติการอบรมเลี้ยงดู ส่งเสริมพัฒนาการ และการเรียนรู้ โดยพ่อแม่ และผู้เลี้ยงดู เน้นการจัดประสบการณ์ผ่านการเล่นตามธรรมชาติที่เหมาะสมกับวัยอย่างเป็นองค์รวมทั้งด้านร่างกายอารมณ์จิตใจสังคมและสติปัญญา
สาระการเรียนรู้
ประสบการณ์สำคัญ
ประสบการณ์สำคัญที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาของเด็กนั้น พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจำเป็นต้องสนับสนุนให้เด็กได้มีประสบการณ์ตรง โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
สาระที่ควรเรียนรู้
1 เรื่องราวที่เกี่ยวกับเด็ก
2 เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก
3 ธรรมชาติรอบตัว
4 สิ่งต่างๆรอบตัว
หลักสูตรเด็กอายุ 3-6 ปี
การจัดเวลาเรียน
เวลาเรียนไม่น้อยกว่า 180 วันต่อ 1 ปีการศึกษา
เรียนไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมงต่อ 1 วัน ไม่จัดเป็นรายวิชา
ปรับให้เหมาะสมกับบริบทของสถานที่
คำนึงถึงช่วงเวลาของเด็ก
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
1 พัฒนาการด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1,2
2 พัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ
มาตรฐานที่ 3,4,5
3 พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6,7,8
4 พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9,10,11,12
สภาพที่พึงประสงค์
12 มาตรฐาน 29 ตัวบ่งชี้
การประเมิน
การสังเกต
การบันทึกพฤติกรรม
การสนทนา
การสัมภาษณ์
การสร้างรอยเชื่อมต่อระหว่างการศึกษาปฐมวัยกับป 1
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้สอนระดับปฐมวัย
ผู้สอนระดับประถมศึกษา
พ่อแม่ ผู้ปกครอง
การกำกับ ติดตาม และประเมินผล
โดยต้องมีการดำเนินการเป็นระบบเครือข่ายครอบคลุมทั้งหน่วยงานภายใน และภายนอก ในรูปแบบของคณะกรรมการที่มาจากบุคคลทุกระดบ และทุกอาชีพ
สาระการเรียนรู้
ประสบการณ์
พัฒนาการด้านร่างกาย
การใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กประสานสัมพันธ์กันระหว่างระบบประสาทหวยวันนี้
พัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ
ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
พัฒนาการด้านสังคม
การแสดงอารมณ์และความรู้สึกที่เหมาะสม
พัฒนาการด้านสติปัญญา
พัฒนาความคิดรวบยอดการแก้ปัญหา
สาระที่ควรเรียนรู้
เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก
ธรรมชาติรอบตัว
สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
การจัดทำหลักสูตร
-บรรลุมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์
-คำนึงถึงวิสัยทัศน์ จุดเน้น ภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพบริบท
การจัดสภาพแวดล้อม
ความสะอาด ความปลอดภัย
ความมีอิสระอย่างมีขอบเขตในการเล่น
ความพร้อมของสถานที่
ความสะดวกในการจัดกิจกรรม
ความพอเพียง พอเหมาะ ในเรื่องของขนาด น้ำหนัก จำนวน สีของสื่อ
บรรยากาศในการเรียนรู้การจัดทำเล่น+มุม
หลักการจัดกิจกรรม
1 กำหนดระยะเวลาเหมาะสมกับวัยแต่ยืดหยุ่นได้
อายุ 3-4 ปี มีความสนใจ 8-12 นาที
อายุ 4-5 ปี มีความสนใจ 12-15 นาที
อายุ 5-6 มีความสนใจ 15-20 นาที
2 กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิด
ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่องนานเกินกว่า 20 นาที
3 กิจกรรมอิสระเล่นเสรีใช้เวลา 40-60 นาที
4 กิจกรรมควรมีความสมดุลในภายในห้องและนอกห้องเรียน
จุดหมาย
ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย แข็งแรง และมีสุขนิสัยที่ดี
สุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตใจที่ดีงาม
มีทักษะชีวิต และปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข :
มีทักษะการคิดการใช้ภาษาสื่อสารและการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย