Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของทารกแรกเกิด - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของทารกแรกเกิด
พัฒนาการของกระเพาะอาหารและลำไส้
สัปดาห์ที่ 16 มีการกลืนน้ำคร่ำ, ดูดซึมน้ำและขับกาก
ลงไปยังลำไส้ใหญ่ส่วนล่าง และพบ Hydrochloric
acid และน้ำย่อย (Enzymes) ได้ในปริมาณน้อยมาก ในทารกคลอดก่อนกำหนดอาจเกิดภาวะขาดน้ำย่อยได้มากน้อยแตกต่างกันตาม
อายุครรภ์
สัปดาห์ที่ 11 ของการตั้งครรภ์ ลำไส้เล็กมี Peristalsis และสามารถดูดซึม Glucose ได้ดี
การกลืนของทารก
ในระยะแรกทารกในครรภ์กลืนน้ำคร่ำได้น้อย จึงไม่มีผลต่อการควบคุมปริมาณน้ำคร่ำ แต่ต่อมาระยะหลังทารกกลืนน้ำคร่ำได้มากขึ้น จนเป็นส่วนสำคัญอันหนึ่งที่ช่วยควบคุมปริมาณน้ำคร่ำ
ในรายที่ทารกในครรภ์กลืนน้ำคร่ำผิดปกติ ทำให้เกิด
ภาวะครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios)
สารที่ทารกได้รับจากการกลืนน้ำคร่ำช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตและพัฒนาการของระบบทางเดินอาหาร รวมทั้งเตรียมความพร้อมสำหรับการบริโภคอาหารหลังคลอด นอกจากนี้ยังเป็นการช่วยขับถ่ายสารที่ไม่ละลายในน้ำคร่ำออกมาเป็นขี้เทา (Meconium)
ขี้เทา (Meconium)
ทารกที่ขาดออกซิเจน (Hypoxia) จะขับขี้เทาจากลำไส้ใหญ่ออกมาในน้ำคร่ำเป็นจำนวนมาก เกิดจากการหลั่งของArgininevasopressin (AVP) จากต่อมใต้สมอง (Pituitary gland ) AVP จะกระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบของลำไส้ใหญ่ให้หดรัดตัว ทำให้เกิดการขับถ่ายขี้เทา
ประกอบด้วยเศษอาหารที่ไม่ย่อยจากน้ำคร่ำที่กลืนเข้าไปรวมกับ
สารคัดหลั่งและสิ่งขับถ่ายจากทางเดินอาหาร ลักษณะสีดำปนเขียวเกิดจากเม็ดสี
Biliverdin
การอุดตันของลำไส้เล็กอาจทำให้ทารกในครรภ์อาเจียน ทารกที่เป็นโรค
Congenital chloride diarrhea อาจถ่ายอุจจาระเหลวในครรภ์ทำให้เกิด ครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios) และคลอดก่อนกำหนดได้
ตับ
Glycogen ที่สะสมในตับทารกมีปริมาณน้อยในไตรมาสแรก แต่จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนมีระดับมากกว่าในผู้ใหญ่ 2 - 3 เท่า เมื่อครรภ์ใกล้ครบกำหนด
มีความสามารถจำกัดในการเปลี่ยน Bilirubin เป็น
Bilirubin diglucuroside
ตับอ่อน
อายุครรภ์12 สัปดาห์ ตรวจพบระดับ Insulin ใน plasma ของ ทารก
ตับอ่อนของทารกในครรภ์ตอบสนองต่อภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
(Hyperglycemia ) การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ขึ้นกับปริมาณสารอาหารจากมารดาและการทำงานของ Insulin ระดับ Insulin ในเลือดของทารกในครรภ์จะสูง ในกรณีที่มารดาเป็นเบาหวานและทารกตัวโต (Large for gestationalage infant) แต่จะต่ำในทารกตัวเล็ก (small for gestational age)
อายุครรภ์ 9-10 สัปดาห์ต พบ Insulin-containing granules ในตับอ่อนทารกในครรภ์
การขับถ่าย
ปัสสาวะ
ประมาณวันละ 10 ครั้งต่อวัน
อุจจาระ
ถ่ายอุจจาระประมาณ 8-10 ครั้งต่อวัน ทารกอายุ 3 เดือน ระบบการย่อยและลำไส้ทำงานดีขึ้น สามารถดูดซึมสารอาหารต่างๆ จากน้ำนมแม่ได้ดี อีกทั้งกระเพาะก็ใหญ่ขึ้นด้วย จึงทำให้ถ่ายอุจจาระน้อยลง เหลือประมาณ 2-3 ครั้งต่อวัน
ต้องขับถ่าย meconium ภายใน 24-48 hr. อาจเกิด Hirschsprung's disease(ลำไส้ใหญโป่งพองแต่กำเนิด) ถ่ายอุจจาระปนขี้เทา (Transitional stool) ในวันที่ 3-4 ถ่ายอุจจาระสีเหลืองในวันที่ 5