Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Paranoid schizophrenia การรักษา - Coggle Diagram
Paranoid schizophrenia
การรักษา
การรักษาทางชีวภาพ
(Biological Treatment)
ยา
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs* รักษาควบคุมอาการจิตคุ้มคลั่ง และโรคจิตเภท
กลุ่ม Antipsychotjc agent
กลไกการออกฤทธิ์
: มีฤทธิ์ขับยั้ง Dopamine D2 receptor น้อย ทำให้เกิด ผลการรักษาโรค จิตต่ำ
มีฤทธิ์ block Adrenoceptor ทำให้เกิด Postural hypotension
มีฤทธิ์ยับยั้ง 5 HT rcceptor ทำให้มีฤทธิ์ ภาวะประสาทหลอนของผู้ป่วยโรคจิต เป็นผลให้ผู้ป่วยง่วง นอนหลับ ได้ หิว และรับปุระทานมากขึ้น ทำให้อ้วน
เหตุผลที่ผู้ป่วยต้องใช้
: ใช้เมื่อผู้ป่วยมีอาการคุ้มคลังจากการไม่ยอมรับประทาน
ผลข้างเคียง
: มีผลเล็กน้อยหลังรับประทาน เช่น กระสับกระส่าย ท้องผูกวิงเวียนศีรษะ ง่วงซึม ปากแห้ง รูม่านตาขยาย อาการสั่นรัวหรือกระตุก คลื่นไส้
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
ยานอนหลับและคลายเครียด
กลุ่ม Benzodiazepine
กลไกการออกฤทธิ์
: ยาจะกระจายไปจับกับ receptors ซึ่งรวมเป็นcomplex อยู่กับ gamma aminobutyric acid (GABA) receptors ในส่วนต่างๆ ของสมองทำให้เกิด inhibitory action ตามฤทธิ์ของ GABA
เหตุผลที่ผู้ป่วยต้องใช้
: คลายความเครียด วิตกกังวล อาการฟุ้งซ่านที่เกิดจากโรคประสาท คลายกล้ามเนื้อ ใช้เป็นยานอนหลับชั่วคราว
ผลข้างเคียง
:คือ ง่วงซึม กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน กล้ามเนื้อุเปลี้ย สับสนมึนงง เวียนศีรษะ ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็ว นอกจากนี้ อาจเกิดภาวะเสียความจำข้างหน้า
ไฟฟ้า
ECT 1 course
(5 times per week 10 weeks)*
การรักษาด้วยไฟฟ้าในผู้ป่วยจิตเภทโดยทั่วไปจะใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยจิตเภทไม่ตอบสนอง ต่อการรักษาด้วยยาและมีอาการรุนแรงโดยจะพิจารณาใช้การรักษาด้วยไฟฟ้าร่วมกับการใช้ยาการ รักษาด้วยไฟฟ้าเพียงอย่างเดียวได้ผลไม่ดีเท่ากับการรักษาด้วยยาแต่การรักษาด้วยไฟฟ้าร่วมกับการใช้ยา
ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาในลักษณะ Continuation /maintenance เป็นการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
การรักษาด้านจิตสังคม
(Psychosocial Intervention)
พฤติกรรมบำบัด
(Behavior therapy)
มุ่งเน้นในการพัฒนาความสามารถและแก้ไขความบกพร่องของผู้ป่วย
เพิ่มความสามารถทางสังคมและมองเห็นคุณค่าในตนเองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองตามปกติจนสามารถดำเนินชีวิตได้
ครอบครัวบำบัด
(Family therapy)
เพื่อให้เกิดการยอมรับและให้ความร่วมมือในการดูแลผู้ป่วยและมีกำลังใจในการดูแลอย่างต่อเนื่อง
การให้การแนะนำปรึกษาแก่ ครอบครัว จะลดความตึงเครียดภายในครอบครัว ทำให้การกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยลดลงเช่น การให้ความรู้เรื่องยาของผู้ป่วย
จิตบำบัดรายบุคคล
(Individual psychotherapy)
เป็นหัวใจของการบำบัด
สร้างความไว้วางใจให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย
ช่วยสั่งเสริมให้เกิดความเข้าใจและช่วยเหลือตนเองได้
เพื่อการบำบัด (Milieu therapy)
การจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณที่พัก หรือตามสถานทีของผู้ป่วยชอบให้เหมาะสมโดยให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสิ้นใจบางส่วนจัดกิจกรรมต่างๆในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมต่างๆ
วาสนา นามเหลา. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อภาระการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทที่มารับบริการ ในโรงพยาบาลจิตเวชสระแกว้ราชนครินทร์.(วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยบูรพา).
สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตบุคคลากรภายในศาลยุติธรรม.[สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์. จากhttps:/rabi.coj.go.th/th/file/get/file20200327d41d8cd98f00b204e9800998ecf8427e162019.pdf
สำนักงานบริหารสุขภาพจิต. (2560). คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท. สืบค้นเมื่อ 21กันยายน 2564,
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2560). คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท สำหรับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ.(พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ : บริษัท วิคทอเรียอิมเมจ จำกัด.
นางสาวสุปรียา ทิพย์สุมานันท์ เลขที่ 72 ห้องB รหัสนักศึกษา 62123301149
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองและผู้อื่นเนื่องจากมีความคิดหลงผิด
1.ประเมินความคิดของผู้ป่วยว่ามีผลอย่างไรต่อพฤติกรรมและการกระทำของผู้ป่วย เช่น เห็นใครจะมาทำร้ายเพื่อประเมินว่าผู้ป่วยมีความคิดอย่างไร
2.ยอมรับในการคิดหลงผิดของผู้ป่วย โดยพยาบาลไม่โต้แย้ง ไม่ตำหนิ หรือท้าทายว่าที่ผู้ป่วยเล่าให้ฟังนั้นไม่เป็นเรื่องจริงและไม่นำคำพูดผู้ป่วยไปล้อเล่น
3.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดอย่างสม่ำเสมอ พูดคุยที่นุ่มนวล เป็นมิตรและอบอุ่น อดทนในการรับฟังเพื่อสร้างความไว้วางใจและให้ความร่วมมือ เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ป่วยได้พูดถึงความคิดของเขาอย่างอิสระและได้รับฟังความคิดของผู้ป่วย
4.ใช้เทคนิค Clarifying การให้ความกระจ่าง คือ ความพยายามทำความเข้าใจในคํากล่าวของ ผู้ป่วย เช่น
“ คนที่คุณพูดถึงหมายถึงใครค่ะ”
5.ดูแลให้ได้รับยาThorazine 30 mg IM q 6 hrs ตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียง ได้แก่ ตาพร่า ความดันลูกตาเพิ่ม ปากคอแห้ง ท้องผูก ปัสสาวะคั่ง ภาวะความดันต่ำจากการเปลี่ยนท่า ง่วง นอนหลับ
6.ดูแลให้ได้รับยา Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn.ตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียงได้แก่ ลดอัตราการหายใจ ความดันโลหิตต่ำ สับสน มึนงง ปวดศีรษะ
7.จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย กำจัดวัตถุที่เป็นอันตราย เช่น ของมีคม วัตถุที่ทำด้วยแก้วหรือกระจกออกจากตัวผู้ป่วยและจัดสิ่งแวดล้อมให้กระตุ้นผู้ป่วยน้อยที่สุด เช่น จัดที่พักให้เป็นส่วนตัวมากที่สุด มีแสงสว่างพอเหมาะเงียบสงบ