Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาที่พบในระบบประสาท, เป็นความผิดปกติทางระบบประสาทที่เกิดขึ้นในทารกหรือเ…
ปัญหาที่พบในระบบประสาท
ภาวะสมองขาดเลือด
(Hypoxic-ischemic encephalopathy)
เป็นผลของภาวะขาดออกซิเจนใน
ระยะแรกเกิด(Birth Asphyxia) ทําให้เกิดพยาธิสภาพที่สมอง
โดยปกติสมองจะทนต่อการขาดออกซิเจนได้
ประมาณ 5นาที ทารกที่มีภาวะขาดออกซิเจน (Asphyxia) จะทําให้สมองขาดเลือด
อาการ
ปากเบี้ยวหรืออ่อนแรงบริเวณใบหน้า แขน ขา
กลืนลำบาก
หมดสติ ชัก
สัญญาณชีพผิดปกติ
APGAR Score ผิดปกติ
เกิดจากเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงสมองส่วนต้นทางมีการตีบแคบลงหรือถูกอุดกั้น ทำให้เลือดไม่สามารถผ่านไปเลี้ยงสมองส่วนปลายได้
สาเหตุ
จากมารดา
ความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์ เช่น ภาวะน้ำคร่ำติดเชื้อ น้ำคร่ำน้อย ภาวะน้ำเดินก่อนกำหนด หรือความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
จากทารก
เช่น ภาวะสมองอ็อกซิเจน หรือการติดเชื้อในกระแสเลือด
การพยาบาล
งดน้ํางดอาหารทางปาก
on O2
ให้สารน้ํา
เจาะเลือดหาค่า CBC การตรวจเพาะเชื้อ
เจาะเลือดตรวจหาระดับน้ําตาลในเลือด
ให้ Vitamin K
วัดสัญญาณชีพ : ความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
ให้ยา Ampicillin,Gentamicin ทางหลอดเลือดดำ
ตรวจหา CBG ,DTX
ภาวะสมองพิการ (Cerebral Palsy)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เป็นความพิการที่เกิดขึ้นตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา โดยไม่ทราบสาเหตุชัดเจน
ความเสี่ยงตั้งแต่อยู่ในครรภ์
ภาวะทารกตัวเล็กในครรภ์
น้ำหนักแรกคลอดน้อย
มีการติดเชื้อระหว่างตั้งครรภ์
มารดาได้รับยา สารพิษระหว่างตั้งครรภ์
เด็กในครรภ์มีปัญหาสมองขาดเลือดหรือผิดปกติ
สมองเด็กพัฒนาไม่ดีในครรภ์
มารดามีโรคประจำตัว เช่น ไทรอยด์ผิดปกติ ภาวะเลือดออกง่าย
การกลายพันธุ์หรือความผิดปกติของพันธุกรรมที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมอง
อุบัติเหตุที่ทำให้สมองของทารกได้รับการกระทบกระเทือนตั้งแต่อยู่ในครรภ์
ความเสี่ยงระหว่างคลอด
เด็กคลอดก่อนกำหนด
มีปัญหาคลอดยาก
มีความเสียหายต่อศีรษะหรือกะโหลกศีรษะในระหว่างการคลอด
มีภาวะเลือดออกในสมองหรือสมองขาดออกซิเจนในช่วงแรกเกิด
ปัจจัยเสี่ยงหลังคลอด
มีการบาดเจ็บ เลือดออกในสมอง
ติดเชื้อของสมองภายหลังคลอด
ภาวะตัวเหลือง
ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ
การตั้งครรภ์ทารกแฝด
มารดาตั้งครรภ์ขณะมีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
หมู่เลือดอาร์เอชของมารดาและทารกไม่ตรงกัน
ประเภทเด็กสมองพิการ
Spastic CP
พบได้มากที่สุดร้อยละ70 - 80
ของเด็กสมองพิการทั้งหมด
Hemiplegia คือมีลำตัวและแขนขาเกร็งครึ่งซีก
Diplegia คือ ขามีอาการเกร็งมากกว่าแขนมากอย่างเห็นได้ชัด
Quadriplegia คือ แขนและขาทั้งสองข้าง อาการเกร็งมาก
Athetoid CP
พบได้ประมาณ 1 ใน 4 ของของเด็กสมองพิการทั้งหมด
อาการกล้ามเนื้อแข็งตึงหรืออ่อนแรง
สลับกันไปมาเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา บางรายอาจมีคอเอียง ปากเบี้ยวร่วมด้วย
Ataxic CP
มีปัญหาในการทรงตัว สมดุลร่างกาย และการประสานงานของระบบต่าง ๆ รวมทั้งอาจมีอาการสั่นร่วมด้วย
Mixed CP
มีลักษณะสมองพิการมากกว่า 1 ชนิดเกิดขึ้นร่วมกัน
การวินิจฉัยภาวะสมองพิการ
การสแกนสมอง
เพื่อตรวจและประเมินความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับสมอง
การตรวจเลือด
เพื่อหาความผิดปกติทางพันธุกรรม
การตรวจอื่นๆ เช่น ตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ ตรวจความผิดปกติทางการมองเห็น การได้ยิน การพูด
แนวทางการบำบัดฟื้นฟู
กายภาพบำบัด
การรักษาด้วยยา
กิจกรรมบำบัด
การผ่าตัด
เป็นความผิดปกติทางระบบประสาทที่เกิดขึ้นในทารกหรือเด็กเล็ก
ส่วนมากจะทำได้ช่วงอายุ
1-2 ปีขึ้นไป
อ้างอิง
พญาไท. 2563. สมองพิการ ภาวะผิดปกติในผู้ป่วยเด็ก ที่รักษาได้. สืบค้นจาก
https://www.phyathai.com/article_detail/2278/th/
พญาไท. 2564. โรคหลอดเลือดสมองในเด็ก พ่อแม่ควรระวัง. สืบค้นจาก
https://www.phyathai.com/article_detail/3543/th/
วชีวารัตน์ พานธงรักษ์. 2558. การดูแลทารกที่มีภาวะสมองขาดเลือด (Hypoxic –ischemic Encephalopathy). สืบค้นจาก
http://203.157.64.3/multim/.pdf
ศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู สภากาชาดไทย. 2561. ทำความรู้จักเด็กสมองพิการ. สืบค้นจาก
https://rehab.redcross.or.th/