Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 นโยบาย กฎหมาย จริยธรรมที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 7 นโยบาย กฎหมาย จริยธรรมที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
นโยบาย
ภาพลักษณ์ที่พึงปราถนา
มีสุขภาพกายและจิตที่ดี
อยู่ในครอบครัวอย่างมีความสุข
มีสังคมที่ดี
มีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
พึ่งตนเองได้
มีประโยชน์
เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
มีหลักประกันมั่นคง
ได้รับสวัสดิการและบริการที่เหมาะสม
ได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรการทางสุขภาพ
เน้นบริการที่เข้าถึงตัวผู้สูงอายุในเชิงรุก
การบริการระดับชุมชน
การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ความเคลื่อนไหวของนโยบาย กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
พ.ศ. 2525 จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุ ทำแผนผู้สูงอายุ ฉบับที่ 1 ( พ.ศ. 2525 - 2544 ) 13 เมษายน วันผู้สูงอายุ
พ.ศ. 2540 ไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ม.54 และ 80
พ.ศ.2541 มีการรับรอง ปฏิญญามาเก๊า
พ.ศ. 2542 องค์การสหประชาชาติประกาศให้ปี พ.ศ. 2542 เป็นปีผู้สูงอายุสากล
พ.ศ.2545 ได้มีการจัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ( พ.ศ. 2545 - 2564 )
พ.ศ.2546 จัดทำพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2550 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญปี 2550 มาตราที่เกี่ยวข้อง 53 และ 80
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2542
ข้อที่ 1 คุ้มครองให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง และละเมิดสิทธิ
ข้อที่ 2 การดูแลเอาใจใส่
ข้อที่ 3 ผู้สูงอายุได้รับการศึกษา เรียนรู้ พัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
ข้อที่ 4 มีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมตามความสมัครใจ
ข้อที่ 5 เข้าถึงหลักประกันและบริการด้านสุขภาพอนามัยอย่างคบวงจร
ข้อที่ 6 มีส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัว ชุมชน และ สังคม
ข้อที่ 7 ส่งเสริมประสานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อ
ข้อที่ 8 คุ้มครองสวัสดิภาพและจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ
ข้อที่ 9 รณรงค์ปลูกฝังค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมที่เน้นความกตัญญูกตเวที
กฎหมายเกี่ยวกับผู้สูงอายุไทย
รัฐธรรมนูญ 2550
ม. 53 มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี ความช่วยเหลือจากรัฐ
ม.80 จัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
ม.7 และ ม. 17
การบริการทางการแพทย์ สาธารณะสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวก
การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม
บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุและผู้เลี้ยงดูผู้สูงอายุ
การอำนวยความสะดวกและความปลอดภัย
การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ
การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่ม
การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี
ยุทธศาสตร์ของแผนผู้สูงอายุฉบับที่ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการประมวล และ พัฒนาองค์ความรู้
องค์ประกอบทางจริยธรรมในการพยาบาลผู้สูงอายุ
ให้ความเคารพยกย่อง
ยอมรับความสูงอายุ
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ
ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
ศึกษาหาความรู้
รัก ศรัทธา เห็นคุณค่าของวิชาชีพ