Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Febrile convulsion
ชักจากไข้
seizure - Coggle Diagram
Febrile convulsion
ชักจากไข้
ความหมาย
อาการชักที่เกิดร่วมกับไข้ในเด็กที่สมองปกติมาก่อน โดยสาเหตุของไข้ เช่น
การอักเสบ หรือการติดเชื้อที่ระบบใดระบบๆหนึ่งของร่างกาย โดยไม่รวมถึงอาการติดเชื้อของสมองและเยื้อหุ้มปอด และต้องไม่เกิดจากสาเหตุอื่นที่ทำให้สมองทำหน้าที่ปกติ เช่น มีการเสียสมดุล
ของระดับสารน้ำและเกลือแร่ในร่างกายอย่างเฉียบพลัน (Rosenblum & Blosser, 2017)
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด (อิสรา ขันกสิกรรม, 2554)
อาการชักจากไข้ชนิดไม่ซับซ้อน
(simple febrile convulsion หรือ primary febrile convulsion)
-
2 ขณะมีอาการชัก จะเกิดอาการชักระยะสั้นๆ ส่วนใหญ่ประมาณ 2-3 นาที ไม่เกิน 15 นาที
และลักษณะการชักเป็นแบบชักทั้งตัว
-
-
อาการชักจากไข้ชนิดซับซ้อน
(complex febrile convulsion หรือ secondary febrile convulsion)
-
2 ขณะมีอาการชัก จะมีอาการชักเป็นระยะเวลานาน เป็นเวลามากกว่า 10-15 นาที หรือมี
อาการชักเกิดขึ้นซ้ำภายใน 24 ชั่วโมง และลักษณะการชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
สาเหตุ(อิสรา ขันกสิกรรม, 2554)
การติดเชื้อ
ติดเชื้อในระบบต่างๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
หูชั้นกลางอักเสบ กระเพาะอาหารหรือลำไส้อักเสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อซึ่งไม่มีอาการเฉพาะที่ เช่น ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ ไข้ไทฟอยด์ เป็นต้น
การฉีดวัคซีน
ซีนป้องกันโรคคอตีบ โรคบาดทะยัก โรคไอกรน และวัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม หัดเยอรมัน
อายุ
อาการชักจากไข้มักเกิดขึ้นในเด็กอายุ 6 เดือนถึง 5 ปี โดยช่วงวัยที่มีความเสี่ยงสูงอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 12-18 เดือน
อาการ
(รุ่งฤดี วงค์ชุม, 2563)
ภาวะชักจากไข้แบบธรรมดา เป็นภาวะที่พบได้บ่อย โดยอาการชักมักจะเป็นแบบ
เกร็งกระตุกทั่วทั้งตัว เกิดขึ้นประมาณ 1-2 นาที และอาจเกิดอย่างต่อเนื่องนานถึง 15 นาที แต่จะไม่มีอาการชักเกิดขึ้นซ้ำอีกครั้งภายใน 24 ชั่วโมง
ภาวะชักจากไข้แบบซับซ้อน เป็นการชักที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องนานกว่า 15 นาที โดยผู้ป่วยอาจมีอาการชักซ้ำภายใน 24 ชั่วโมงหลังการชักครั้งแรก หรือขณะที่เกิดอาการชักก็อาจมีอวัยวะเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งเท่านั้นที่กระตุก และเมื่ออาการชักสิ้นสุดลงแล้ว ผู้ป่วยอาจมีอาการแขนหรือขาอ่อนแรงตามมา
พยาธิสภาพ
(รุ่งฤดี วงค์ชุม, 2563)
เมื่อมีไข้เกิดขึ้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของ Metabolism ของเซลล์ประสาทของสมอง ทำให้เซลล์ประสาทสมองไวต่อการเกิดการชักเพิ่ม
-