Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหอบหืด Asthma, fa10c8dfd5ec7f08363b571fbed1ac20, 554b1c30d77e8580348e00…
โรคหอบหืด Asthma
ปัญหาทางการพยาบาล
ปัญหาทางการพยาบาลที่ 1 เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากมีการหดเกร็งของหลอดลมและมีการหลั่งของมูกมาก
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินสัญญาณชีพและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ทุก 1 และ 4 ชั่วโมง
- สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น การหายใจลำบาก หายใจเหนื่อบหอบ ผิวหนังซีดเขียว
- ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยจัดท่านอนศีรษะสูงไม่เกิน 45องศา ดูดเสมหะเพื่อป้องกันทางเดินหายใจอุดกั้น
- ดูแลให้ได้รับยาและออกซิเจนตามแผนการรักษา
- จัดสถานที่ให้เด็กได้พักผ่อนมากที่สุดเพื่อลดการใช้ออกซิเจนในการเผาผลาญให้เกิดพลังงาน
ปัญหาทางการพยาบาลที่ 2 มีโอกาสเกิดภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นเนื่องจากมีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม
กิจกรรมการพยาบาล
- วัดสัญญาณชีพทุก1 ชั่วโมงและ ทุก4 ชั่วโมง เพื่อประเมินความรุนแรงของอาการหอบหืด โดยสังเกตจากอาการหอบ การใช้กล้ามเน้ือที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ ระดับความรู้สึกตัว
- สังเกตอาการของภาวะทางเดินหายใจถูกอุดกั้นได้แก่ การหายใจต้องใช้แรงมากไอเสียงก้อง ได้ยินเสียงวิ้ดขณะหายใจ
- จัดให้นอนศีรษะสูงไม่เกิน 45 องศา หนุนหมอนถึงช่วงไหล่ และดูดเสมหะ
- ให้ยาพ่นตามแผนการรักษาเพื่อบรรเทาการอักเสบของทางเดินหายใจ อาการไอและการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม
- กระตุ้นให้ดื่มน้ำบ่อยๆ เพื่อละลายเสมหะ
ปัญหาทางการพยาบาลที่ 3 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากภายหลังการได้รับการรักษาโรคหอบหืดขั้นต้นแล้วอาการยังไม่ทุเลา
กิจกรรมการพยาบาล
- ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการผิดปกติเช่น อาการหอบเหนื่อย
- ช่วยระบายเสมหะโดยการเคาะผนังอกและการดูดเสมหะ สังเกตสีและปริมาณของเสมหะ
- ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการนำเชื้อโรคสู่เด็กเปลี่ยนชุดพ่นยาของผู้ป่วยทุกวัน
- แนะนำให้ผู้ปกครองบ้วนปากและแปรงฟันเช้าและก่อนนอนให้เด็กเพื่อป้องกันการติดเช้ือจากช่องปากลงไปในทางเดินหายใจ
สาเหตุ
-
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดหืดโดยตรง ได้แก่สารก่อภูมิแพ้ เช่น ฝุ่นละออง ไรฝุ่น ขน รังแค ละอองเกสรดอกไม้ อาหารบางชนิด เช่น อาหารทะเล
-
พยาธิสภาพ
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลม เป็นผลให้เยื่อบุผนังหลอดลมเกิดภาวะไวเกินในการตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้และสิ่งกระตุ้น หลอดลมจะถูกแทรกซึมด้วย Ne Eo และ Ly จะทำให้กล้ามเนื้อหลอดลมหดเกร็งและตีบแคบมีการบวมเกิดการหลั่งมูกและสร้างเสมหะในหลอดลม
แยกเป็น 2 แบบ
ภาวะหอบหืดเฉียบพลัน เกิดการหดเกร็งของหลอดลม หลอดเลือดขยายตัว มูกคัดหลั่งเพิ่ม หลอดลมเกิดภาวะไวเกิน ทำให้มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ ลมค้างในปอด ใช้แรงในการหายใจ
ภาวะหอบหืดเรื้อรัง เกิดจากการได้รับการรักษาไม่เหมาะสมจนมีอาการเรื้อรัง เกิด airway remodeling คือหลอดลมแข็งตัวเสียความยืดหยุ่น หลอดลมหนากว่าปกติและสูญเสียพยาธิสภาพปิดถาวร
-
-
-
-
-