Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูง…
หน่วยที่ 7
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
เส้นทางนโยบาย กฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
ภาพลักษณ์ผู้สูงอายุไทย ที่พึงปรารถนาในทศวรรษหน้า
พึ่งตนเองได้ มีประโยชน์ เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
ของครอบครัวและสังคมและมีศักดิ์ศรี
มีหลักประกันมั่นคง ได้รับสวัสดิการและบริการที่เหมาะสม
อยู่ในครอบครัวอย่างมีความสุข มีสังคมที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
มีความรู้และมีโอกาสได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
มีสุขภาพกายและจิตที่ดี
มาตรการด้านสุขภาพ
ต้องเน้นบริการที่เข้าถึงตัวผู้สูงอายุในเชิงรุก การบริการระดับชุมชน
และการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Community base care, Home care) แบบบูรณาการและสหสาขา โดยชุมชนมีส่วนร่วมเป็นสำคัญ ทั้งอาสาสมัครองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและองค์กรทางศาสนา (วัด)
โดยคำนึงถึงหลักการเข้าถึง (accessibility) และราคาไม่แพง
เส้นทาง (timeline) ของนโยบาย กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
พ.ศ. 2525
1) องค์การสหประชาชาติได้จัดประชุมสมัชชาผู้สูงอายุณ กรุงเวียนนา
2) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544)
พ.ศ. 2540
มีมาตราที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ 2 มาตรา คือ หมวดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย
พ.ศ. 2541
มีการรับรอง ปฎิญญามาเก๊า โดยคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค-องค์การสหประชาชาติ และจัดทำแผนปฏิบัติการเรื่องผู้สูงอายุในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค
พ.ศ. 2542
องค์การสหประชาชาติประกาศให้ปี พ.ศ.2542 เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุุ
พ.ศ. 2545
ได้มีการจัดท าแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – 2564)
ซึ่งเป็นแผนที่ทุกกระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติ ในขณะนี้
พ.ศ. 2546
ได้มีการจัดทำและประกาศใช้ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2550
มาตราที่ 53 บัญญัติว่า “บุคคล ซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอ านวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ”
มาตราที่ 80 วรรค 2 “รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน
กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้สูงอายุไทย
3.แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2525 - 2544
เป็นแผนที่กำหนด “สิทธิ” ของผู้สูงอายุไทยอย่างชัดเจนฉบับแรก “แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 มองว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่ได้ท าคุณประโยชน์ต่อสังคมและสมควรได้รับการตอบแทน”
2.พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
วัตถุประสงค์
เพื่อให้การด าเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองการส่งเสริม และการสนับสนุนต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สาระสำคัญ
บุคคลผู้มีสิทธิในพระราชบัญญัติฉบับนี้ กำหนดให้บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทยถือเป็นผู้สูงอายุ
เหตุผลในการตราพระราชบัญญัติ
มาตรา 54 ได้บัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุ ให้มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ
4.แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 – พ.ศ.2564
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 ถูกร่างขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุต่อจากแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544)
1.ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
ประกอบกับองค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุรัฐบาล องค์กรเอกชน ประชาชน และสถาบัน ต่างๆ ได้ตระหนักถึงศักดิ์ศรีและคุณค่าของผู้สูงอายุ
5.แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 - 2564 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ.2552
การปรับปรุงแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 ครั้งที่ 1 นี้ เกิดขึ้นจากกระแสวิชาการที่เห็นถึงป๎ญหาการดำเนินงานและผลการประเมินในช่วง 5 ปีที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และสถานการณ์ประชากรประเทศไทย จึงเป็นจุดกำเนิดสำคัญของการปรับแผนฯ
6.สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ
การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
การมีส่วนร่วม
การอุปการะเลี้ยงดู
การบรรลุความต้องการ
ความมีศักดิ์ศรี
กฎหมาย นโยบายอื่นๆ ของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมของประชากรในการเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ
นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหลักประกันด้านสุขภาพและหลักประกันด้านรายได้
ปี พ.ศ.2539 พระราชบัญญัติกองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการ พ.ศ.2539
ปี พ.ศ.2554 พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ(กอช.) พ.ศ.2554
ปี พ.ศ.2533 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533
ปี พ.ศ. 2544 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund ; RMF)
ปี พ.ศ. 2530 พระราชบัญญัติกองทุนส ารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530
ปี พ.ศ.2547 กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund: LTF)
ปี พ.ศ. 2471 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2471
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ ประกอบด้วย พินัยกรรมเมตตามรณะ การพยาบาลผู้ปุวยระยะสุดท้าย (End of life care)การทำทารุณกรรมในผู้สูงอายุ (Elderly Abuse)
การพยาบาลและองค์ประกอบทางจริยธรรม
ในการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
ประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
พินัยกรรม
พินัยกรรมชีวิต (Living will)
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life care)
เมตตามรณะ (Euthanasia)
การทeทารุณกรรมในผู้สูงอายุ (Elderly Abuse)
1.ทารุณกรรรม การละเมิด และความรุนแรง
แบ่งออกได้ 2 สถานที่ใหญ่ คือ การทารุณกรรมในบ้านและ
การทารุณกรรมในสถานบริการ
การทารุณกรรมในบ้าน
ทารุณกรรมในสถานบริการ
ปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดการทารุณกรรมในผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ
ผู้ดูแล
สิ่งแวดล้อม
ประเภทของการทารุณกรรม
การทารุณกรรมทางเพศ (sexual abuse)
การทารุณกรรมทางด้านจิตใจ (Emotional abuse/psychological abuse)
การทารุณกรรมทางร่างกาย (physical abuse)
การทอดทิ้ง (Neglect)
บุตรหลานหรือญาติพี่น้องละเลย ไม่เอาใจใส่ หรือไม่ดูแลผู้สูงอายุเป็นระยะเวลานาน อันอาจจะเกิดอันตรายต่อร่างกาย หรือจิตใจของผู้สูงอายุได้
การละทิ้ง (Abandonment)
การละทิ้งหน้าที่ต่อผู้สูงอายุที่ตนเองรับผิดชอบในการ
ให้การดูแลหรือผู้สูงอายุที่อยู่ในความดูแล
การแสวงหาผลประโยชน์ทางด้านการเงิน (Financial exploitation)
การประเมินภาวะทารุณกรรม
การจดบันทึกและการรายงาน
การบริการและการให้การช่วยเหลือในประเทศไทย
นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุในประเทศไทยเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2525 และมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องจนส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการสิทธิและสวัสดิการที่ดี ได้แก่ ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
ฉบับที่ 1 , ฉบับที่ 2 , พระราชบัญญัติผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ.2546 , รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 นอกจากนั้นยังมีพัฒนาการทางกฏหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องที่มีส่วนช่วยสนับสนุนให้ประชาชนที่กำลังจะเข้าสู่วัยสูงอายุได้มีสวัสดิการและคุณภาพชีวิตที่ดี
นางสาวรุ่งธิดา วันจงคำ 621201151