Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 นโยบาย กฎหมาย จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ, นางสาวเบญจพร…
หน่วยที่ 7 นโยบาย กฎหมาย
จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
นโยบาย
พึ่งตนเองได้ มีประโยชน์ มีศักดิ์ศรี
มีหลักประกันมั่นคง
ครอบครัวมีความสุข สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดี
มีความรู้ ได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
มีสุขภาพกายและจิตที่ดี
มาตรการทางสุขภาพ
เน้นบริการในเชิงรุก ระดับชุมชน และการดูแลต่อเนื่องที่บ้านแบบบูรณาการและสหสาขา
ความเคลื่อนไหว
ของนโยบาย กฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
พ.ศ. 2540 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2541 มีการรับรองปฏิญญามาเก๊า
พ.ศ. 2525 จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 องค์การสหประชาชาติประกาศเป็นปีผู้สูงอายุสากล
พ.ศ. 2545 มีการจัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่2
พ.ศ. 2546 จัดทำพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ. 2550 มีรัฐธรรมนูญมาตรา 53 และ 80
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
1.ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี
2.ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัวได้รับความเคารพความเข้าใจการดูแล
3.ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
4.ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ที่เหมาะสม
5.ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
6.ผู้สูงอายุควรได้รับบทบาทในกิจกรรมของครอบครัว
7.รัฐมีส่วนร่วมขององค์การภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคม
8.รัฐต้องตรากฏหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพแก่ผู้สูงอายุ
9.รัฐต้องรณรงค์ปลูกฝั่งค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุ
กฎหมายเกี่ยวกับผู้สูงอายุไทย
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติพ.ศ. 2497 ให้หลักประกันและความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ
กฎหมายอาญา มาตรา398วางโทษสถานเบาแก่ผู้ทำทารุณคนชราและผู้สูงอายุ
2550
มาตรา 53 บุคคลมีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ไม่มีรายได้มีสิทธิ์ได้รับสวัสดิการ
มาตรา 80 รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน
พรบ. 2542 มาตรา8 วรรค1กำหนดในการจัดการศึกษาแก่ประชาชนตลอดทุกช่วงอายุ
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุพ.ศ. 2546
เพื่อให้สอดคล้อง
กับรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2540
มาตรา 54 สิทธิผู้สูงอายุ
ให้ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ
บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุ
และผู้เลี้ยงดูผู้สูงอายุ
มาตรา 11 และ 17
การบริการทางการแพทย์
และสาธารณสุขให้ความสะดวก
และรวดเร็วเป็นกรณีพิเศษ
ประกอบอาชีพที่เหมาะสม
การศึกษาศาสนาและข้อมูลข่าวสาร
ที่เป็นประโยชน์
พัฒนาตนเองมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม
ยุทธศาสตร์ของแผนผู้สูงอายุฉบับที่2
ยุทธศาสตร์ที่1 ด้านการเตรียมความพร้อม
ของประชาชนเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่2 ด้านการ
ส่งเสริมผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่3 ด้านระบบ
คุ้มครองทางสังคม
ยุทธศาสตร์ที่4 ด้านการบริหารจัดการ
เพื่อพัฒนางานด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่5 ด้านการประมวล
และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ
สนับสนุนและส่งเสริมให้โดยงานวิจัยประมวลความรู้ผู้สูงอายุ
สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้านผู้สูงอายุ
ดำเนินการให้มีการติดตามประเมินผลการดำเนินการ
พัฒนาระบบข้อมูลทางด้านผู้สูงอายุให้เป็นระบบ
บริหารจัดการด้านผู้สูงอายุระดับชาติ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตหรือฝึกอบรมด้านผู้สูงอายุ
คุ้มครองด้านรายได้
หลักประกันสุขภาพ
ครอบครัวผู้ดูแลและการคุ้มครอง
ระบบบริการและเครือข่ายการเกื้อหนุน
ส่งเสริมความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกันตนเอง
ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันและสร้างความเข้มแข็งขององค์กรผู้สูงอายุ
ส่งเสริมด้านการทำงานและการหารายได้
สนับสนุนผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ
สนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุ
ส่งเสริมและสนับสนุนมีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
มาตรการหลักประกันด้านรายได้เพื่อวัยสูงอายุ
มาตรการการให้การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรการการปลุกจิตสำนึกให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่า
และศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ
จริยธรรมทางการพยาบาลผู้สูงอายุ
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
พินัยกรรม
แบบเขียนเองทั้งฉบับ
แบบธรรมดา
แบบเอกสารฝ่ายเมือง
แบบเอกสารลับ
แบบวาจา
พินัยกรรมชีวิต
เอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดง
เจตจำนงว่าเมื่ออยู่ในสภาพที่
ไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
Euthanasia
Active Euthanasia
Passive Euthanasia
การทำทารุณกรรมในผู้สูงอายุ
การปฏิบัติต่อผู้สูงอายุโดยตั้งใจ
หรือไม่ตั้งใจเป็นเหตุให้ได้รับอันตราย
การผูกมัดผู้สูงอายุโดยไม่จำเป็น
ละเลยหน้าที่ความรับผิดชอบ
ขับไล่ผู้สูงอายุออกจากที่พักอาศัย
แสดงท่าทีที่ไม่เคารพยกย่อง
ขาดการตนักถึงสิทธิมนุษยชน สิทธิผู้ป่วย
องค์ประกอบทางจริยธรรมในการพยาบาลผู้สูงอายุ
ให้ความเคารพยกย่อง
ยอมรับความสุขอายุว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงตามวงจรชีวิต
ส่งเสริมผู้สูงอายุดูแลตนเอง
ปฎิบัติการพยาบาลให้ความเท่าเทียมกับบุคคลในวัยอื่น
ศึกษาหาความรู้และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ
รักศรัทธาเห็นคุณค่าของวิชาชีพ
นางสาวเบญจพร สืบทอง 621201131