Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช้ในระบบทางเดินอาหาร, นางสาวพรกมล วิศว์วิสุทธิ์ รหัสนักศึกษา…
ยาที่ใช้ในระบบทางเดินอาหาร
ยาระบาย (Laxatives)
แบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์ได้5 กลุ่ม
5.ยาระบายที่ทําให้อุจจาระอ่อนนุ่ม
Docusate sodium ยาเป็นสาร surfactant และยับยั้ง Na+ / K+ ATPase และกระตุ้นการหลั่งของเหลวเข้าไปในอุจจาระ ทำให้อุจจาระนุ่ม
3.ยาระบายที่หล่อลื่นลําไส้
liquid paraffin ออกฤทธิ์โดยเคลื่อบที่ผนังลำไส้ใหญ่ ยับยั้งการดูดน้ำเข้าลำไส้ใหญ่ ทำให้อุจจาระนุ่ม
ภาวะแทรกซ้อน คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
1.ยาระบายที่เพิ่มกากในอุจจาระ
ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ รําข้าว, เมล็ดแมงลัก ออกฤทธิ์ ดูดน้ำเข้าหาตัวทำให้อุจจาระอ่อนตัวและเพิ่มขึ้น เกิด peristalsis
ภาวะแทรกซ้อน
ขาดน้ำ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง อ่อนเพลีย
2.ยาระบายที่เพิ่มน้ำในลําไส้
magnesium sulfate, magnesium citrate, magnesium hydroxide, milk of magnesia, lactulose,glycerine
ออกฤทธิ์โดยการดึงน้ำเข้ามาในลําไส้ด้วยแรงดันออสโมติก ทําให้มีแรงดันเพิ่มขึ้นในลําไส้ ช่องของลำไส้ขยายตัว เกิด peristalsis
ภาวะแทรกซ้อน ขาดน้ำและเกลือ แร่ในร่างกายเสียสมดุล ปวดท้อง
4.ยาระบายที่กระตุ้นลําไส้
Bisacodyl มะขามแขก น้ำมันละหุ่ง
ออกฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวลำไส้เล็กและไหญ่ ผ่านปมประสาท myenteric plexus และยับยั้ง Na+ / K+ ATPase
ภาวะแทรกซ้อน คลื่นไส้ อาเจียน
ยาต้านการอาเจียน (Antiemetic drugs)
แบ่งตามฤทธิ์ปิดกั้นต่อตัวรับต่างๆ 6 กลุ่ม
3.Dopamine D2 - receptor antagonists
Metoclopramide, Domperidone
ออกฤทธิ์ต้านการอาเจียนโดยการปิดกั้นตัวรับโดปา มีน (D2 ) ที่สมอง และมีฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับเซอโรโตนิน (5HT3 )ทำให้เพิ่มการเคลื่อยไหวของทางเดินอาหาร
ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ Extrapyramidal symptoms ของ domperidone น้ อ ย ก ว่ า Metoclopramide แต่มี Hyperprolactinemia เช่น เกิดเต้านมโตในผู้ชาย (Gynecomastia) และเกิดน้ำนม ไหลในผู้หญิง (Galactorrhea)
2.Histamine H1 - receptor antagonists
Dimenhydrinate ออกฤทธิ์ ยับยั้งการอาเจียนจากการกระตุ้น tractus solitaries (ในสมอง) และยับยั้งการอาเจียนจากการกระตุ้น vestibular apparatus (ในหู)
ภาวะแทรกซ้อนได้แก่ อาการง่วง มึนงง ปากแห้ง
ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนที่เกิดจากการ
เคลื่อนไหว (motion sickness) เช่น เมารถ เมาเรือ และmorning sickness
4.Serotonin 5HT3 - receptor antagonists
ondansetron ออกฤทธิ์เลือกจับกับ Serotonin 5HT3 – receptorและปิดกั้นบริเวณปลายประสาทและส่วนกลางใน CTZ
ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ ปวดศีรษะ ท้องผูก ท้องเสีย มึนงง หน้ามืด เป็นลม
ใช้ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนจากยาเคมีบําบัด การฉายรังสี
หรือหลังผ่าตัด
1.Anticholinergic drugs
Scopolamine ออกฤทธิ์ ยับยั้ง muscarinic response ต่อ acetylcholine ลดการหลั่ง Ach ที่กล้ามเนื้อเรียบ ลดการหลั่งสารและการเคลื่อนไหวใน GI tract
ภาวะแทรกซ้อนได้แก่ ตาพร่า ปัสสาวะไม่ออก ปากแห้ง คอแห้ง
สามารถป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนที่เกิดจากการ
เคลื่อนไหว (motion sickness) เช่น เมารถ เมาเรือ ได้ด
6.Neurokinin 1 - receptor antagonists
Aprepitant) ยานี้ออกฤทธิ์โดยปิดกั้นตัวรับ neurokinin-1 (NK-1) ที่ศูนย์ ควบคุมการอาเจียนและการทรงตัวที่สมอง มักใช้ร่วมกับ Serotonin (5HT3 ) - receptor antagonists และ Dexamethasone
ภาวะแทรกซ้อน อ่อนเพลีย มึนงง และท้องเสีย
5.Cannabinoids : สารสกัดจากกัญชา
โดรนาบินอล (Dronabinol), นาบิโลน (Nabilone) ออกฤทธิ์ ต้านการอาเจียนโดยการออกฤทธิ์กระตุ้นตัวรับ cannabinoid ที่ศูนย์อาเจียน
ภาวะแทรกซ้อน คือ หัวใจเต้นเร็ว ประสาทหลอน นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย
มักใช้ป้องกันอาการคลื่นไส้
อาเจียนจากการใช้ยาเคมีบําบัดเมื่อใช้ยาตัวอื่นแล้วไม่ได้ผล
ยาเพิ่มการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร (Prokinetic drugs)
กลไกการออกฤทธิ์ 2 กลุ่ม
Dopamine D2 receptor antagonists
Metoclopramide, Domperidone ออกฤทธิ์โดยตรงที่ Dopamine D2 receptor ทำให้เพิ่มการหดตัวของกล้ามเนื้อหูรูดในหลอดอาหาร
ภาวะแทรกซ้อน Extrapyramidal symptoms ของ domperidone น้ อ ย ก ว่ า Metoclopramide หรืออาจมี Hyperprolactinemia เช่น เกิดเต้านมโตในผู้ชาย (Gynecomastia) และเกิดน้ำนม ไหลในผู้หญิง (Galactorrhea) ได้
Serotonin 5-HT4 receptor agonists
Cisapride, Mosapride ออกฤทธิ์เพิ่มการเคลื่อนไหวของ CTZ ในสมอง ทำให้มีการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร
ภาวะแทรกซ้อนได้แก่ ท้องเสีย และปวดท้อง หรืออาจมีผลต่อหัวใจทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ยารักษาโรคแผลในทางเดินอาหาร (Drugs used in peptic ulcer disease)
แบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์ 4 กลุ่ม
3.ยาที่ออกฤทธิ์ปกป้องเยื่อบุทางเดินอาหาร(Cytoprotectives / Mucoprotective drugs)
1.Sucralfate กลไกการออกฤทธิ์ จับกับกรดในกระเพาะอาหารได้เป็นสารที่มีลักษณะเหนียวข้น เคลือบแผลในทางเดิน
อาหาร จึงปกป้องแผลจากกรดและ pepsin
ภาวะแทรกซ้อน ท้องผูกจาก aluminum
hydroxide
3.Prostaglandin ได้แก่ misoprostol เป็นยาสังเคราะห์เลียนแบบพรอสตาแกลนดิน ยมีฤทธิ์ในการเสริมสร้างและปกป้องเยื่อบุทางเดินอาหารและมีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรดจาก parietal cells
ภาวะแทรกซ้อน ท้องเสียหรือ ปวดท้อง
2.Colloidal Bismuth Compounds กลไกการออกฤทธิ์ เคลือบแผลในทางเดินอาหารโดยกระตุ้นการสร้าง PGE2, ลด peptic activity
ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ปาก ลิ้น และอุจจาระดํา คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
4.ยาที่ใช้ขจัดเชื้อ H.pylori (PPIs + Antibiotics)
นิยมใช้การรักษาแบบ triple therapy โดยให้ยายับยั้งการหลั่งกรดกลุ่ม PPIs (Proton Pump Inhibitors) 1 ตัว ร่วมกับยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) 2 ตัว ประกอบด้วย 1. Omeprazole 20 mg 2. Clarithromycin 500 mg 3. Amoxicillin 1000 mg หรือ Metronidazole 400 mg (กรณีที่ผู้ป่วยแพ้เพนนิซิลิน)
2.ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรด
(Antisecretory drugs)
1.ยาที่มีฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับ Histamine H2
Cimetidine
Ranitidine
Famotidine
Nizatidine
กลไกการออกฤทธิ์ : แย่งกับ histamine ในการจับ H2 -receptor
ทําให้ parietal cells ถูกกระตุ้นน้อยลง การหลั่งกรดลดลง
ภาวะแทรกซ้อน ซึ่งพบจากยา Cimetidine ได้แก่ ท้องเสีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย ผื่นคัน
2.ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการขับโปรตอน
Omeprazole Esomeprazole Pantoprazole Rabeprazole
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้ง (hydrogen/potassium adenosine triphosphatase) H+/K+ ATPase แบบ irreversible ที่ parietal cells จึงยับยั้งการหลั่งกรดที่มีฤทธิ์แรง
ภาวะแทรกซ้อน คือปวดศีรษะ ท้องเสีย คลื่นไส้และผื่นคัน
1.ยาที่ออกฤทธิ์โดยการสะเทินฤทธิ์กรด(Antacids)
กลไกการออกฤทธิ์ โดย neutralize กรด
มีผลให้ยับยั้ง pepsin เมื่อความเป็นกรดลดลงการกัดกร่อนของกรดที่จะทําให้เกิดแผลลดลง
ภาวะแทรกซ้อน
AI (OH3) ,Calcium carbonate = ทำให้ท้องผูก
Mg(OH2) = ทำให้ท้องเสีย
Sodium bicarbonate และ Calcium carbonate เกิดภาวะเลือดเป็นด่าง
ยาลดอาการปวดเกร็งท้อง (Antispasmodics)
กลไกการออกฤทธิ์ 2 กลุ่ม
1.ออกฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของ acetylcholine ทําให้กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหารเกิดการคลายตัว
Hyoscine Dicyclomine Clidinium
ภาวะแทรกซ้อน เกิดอาการปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ามัว มึนงง ท้องผูก ปัสสาวะลําบาก
2.ออกฤทธิ์ยับยั้งการทํางานของ acetylcholineมีผลต่อกล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหาร
Mebeverine Drotaverine Fenoverine
ภาวะแทรกซ้อน มึนงง เคลิ้ม ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
ยารักษาอาการท้องเสีย (Antidiarrheals)
แบ่งออกได้ 3 กลุ่ม
2.ยาลดการเคลื่อนไหวของลําไส้ (antimotility drug)
Loperamide ลดการเคลื่อนไหวของลำไส้ ออกฤทธิ์ที่ตัวรับชนิด m-receptor ทางเดินอาหารทำให้ลำไส้บีบรัด ขัดขวางการบีบรูด
ภาวะแทรกซ้อน มึนงง เหนื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน
3.ORS
ทดแทนน้ำและเกลือแร่ เช่นโซเดียม โปแตสเซียม
คลื่นไส้ อาเจียน
1.ยาที่มีฤทธิ์ดูดซับสารพิษ (adsorbents)
Activated charcoal ออกฤทธิ์โดยการดูดซับเชื้อโรคและสารพิษ
ภาวะแทรกซ้อน อุจจาระสีดำ
ยาขับลม (Antiflatulents)
กลไกการออกฤทธิ์ 3 กลุ่ม
1.ยากลุ่มน้ำมันหอมระเหย (Volatile oils)
ยาธาตุน้ำแดง, ทิงเจอร์คาร์มิเนทิฟ,น้ํามันเปปเปอร์มิ้นท
จะทําให้รู้สึกอุ่นที่ทางเดินอาหาร และช่วยขับไล่ลมหรือแก๊สออกมาทางทวารหนัก
3.ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ดูดซับ (Adsorbent)
Activated charcoal
ดูดซับฟองแก๊สมาไว้ที่อนุภาคของมันได้ ช่วยกําจัดแก๊สหรือลมที่มีมากในกระเพาะอาหาร ทําให้ลมในกระเพาะอาหารลดลงได้
2.ยากลุ่มต้านการเกิดฟอง (Defoaming agent)
Simethicone
ออกฤทธิ์ลดแรงตึงผิวของฟองแก๊สในกระเพาะ อาหารและลําไส้ทําให้ฟองแก๊สไม่จับตัวเป็นก้อน หรือทําให้ฟองแก๊สที่รวมตัวกันเป็นก้อนแตกกระจาย และถูกขับออกมาทางปากด้วยการเรอหรือผายลมได้สะดวกขึ้น
ยาช่วยย่อย (Digestants)
แบ่งออกได้ 3 กลุ่ม
2.Bile acid and Bile salts
กรดที่พบอยู่ในน้ำดีได้แก่ cholic acid และchenodeoxycholic acid
ช่วยแตกตัวไขมันเป็นโมเลกุลเล็กๆ ช่วยการดูดซึมไขมันและวิตามินที่ ละลายในไขมัน
3.Hydrochloric acid
การให้กรดเกลือชนิดเจือจาง (Diluted Hydrochloric acid) เพื่อป้องกันการกัดและ ระคายกระเพาะอาหาร
1.Pancreatic enzymes
ประกอบด้วย Amylase ที่ใช้ย่อยพวกแป้งคาร์โบไฮเดรต, Trypsin ที่ใช้ย่อยโปรตีนต่างๆ และ Lipase ที่ใช้ย่อยอาหารพวกไขมัน ทําหน้าที่ของเอนไซม์ในการย่อยอาหารแต่ละประเภทเพื่อทดแทนเอนไซม์ที่ขาดหรือไม่มีในร่างกาย
คอมบิซิม
(Combizym®)
นางสาวพรกมล วิศว์วิสุทธิ์ รหัสนักศึกษา 641231150