Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบภูมิคุ้มกัน
กลุ่มยาเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
(Immunizing agents)
การเสริมภูมิต้านทานหรือภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำได้ 2 วิธี
การกระตุ้นให้ร่างกายสร้างขึ้น
(Active immunization)
เกิดภูมิคุ้มกันภายหลังการให้วัคซีน/toxoidหรือหลังจากติดเชื้อจากธรรมชาติ
ต้องใช้เวลาในการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ให้แอนติเจนเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันเอง
ภูมิคุ้มกันคงอยู่ในร่างกายได้นาน
ร่างกายจดจำเชื้อโรคได้
ให้สารที่มีคุณสมบัติในการเป็นภูมิคุ้มกัน (Passive immunization)
สามารถป้องกันโรคได้ทันที
ภูมิคุ้มกันคงอยู่ในร่างกายได้ไม่นาน
เกิดภูมิคุ้มกันภายหลังให้อิมมูโนโกลบูลิน /แอนติท็อกซิน หรือส่งผ่านจากแม่สู่ลูกทางรกและน้ำนม
ร่างกายไม่จดจำเชื้อโรค
การให้แอนติบอดีหรือภูมิคุ้มกันต่อโรคเพื่อ
ป้องกันไม่ให้เกิดโรค
วัคซีน (Vaccine)
สารประกอบที่ได้จากเชื้อโรค เช่น ไวรัส แบคทีเรีย โดยทำให้เชื่อหมดฤทธิ์ลงและไม่ทำให้เกิดโรค
ประเภทวิธีการผลิต(Vaccine)
วัคซีนเชื้อตาย
(killed vaccine)
มักเกิดปฏิกิริยาบริเวณฉีดหลังฉีด 3-4 ชม. อาจมีไข้ร่วมด้วย
ใช้เชื้อโรคทั้งตัวที่ตายแล้ว
เช่น Hepatitis B vaccine ป้องกันโรคตับอักเสบชนิด B
วัคซีนเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (live attenuated vaccine)
ไม่แสดงปฏิกิริยา
เช่น MMR(Measles,Mumps,Rubella) ป้องกันโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม / Poliomyelitis แบบกิน ป้องกันโรคโปลิโอ
และBCG(BacillusCalmette-Guerin) ป้องกันวัณโรค
ใช้เชื้อโรคมาทำให้อ่อนฤทธิ์ลงจนไม่ทำให้เกิดโรคแต่กระตุ้นภูมิคุ้มกันได้
วัคซีนประเภทท็อกซอยด์ (toxoid)
เช่น วัคซีนคอตีบ และวัคซีนบาดทะยัก
เซรุ่ม (Serum)
สารที่มีคุณสมบัติในการป้องกันโรคทั้งของมนุษย์และสัตว์
ประเภทที่ใช้บ่อย
Diptheria antitoxin
ป้องกันโรคคอตีบ จะฉีดให้ผู้ป่วยทุกรายที่ไม่
สามารถแยกโรคนี้ออกด้วยอาการของโรค
Hepatitis B immune globulin
(HBIG)
สกัดจากพลาสมาคนที่เป็นโรคนี้ เช่น ถ้าลูกติดเชื้อจากมารดาควรฉีดทันทีหลังคลอด
Antivenum serum
ใช้แก้พิษงู ได้จากม้าที่ได้ฉีดพิษงูแล้วสร้างแอนติบอดี้ในกระแสเลือด
อาการแพ้( serum sickness)
อาการคัน ผื่นลมพิษ ปวดข้อ
และกล้ามเนื้อ ไข้ และต่อมน้ำเหลืองโต
ยาปรับภูมิคุ้มกัน
(Immunomodulators)
Immunostimulants
Biologic Immunomodulators
Immunosuppressants
ยาเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน
TNFα inhibitors
Etanercept, Infliximab, Adalimumab
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อมะเร็ง
anti-tumor necrosis factor
IL-2 receptor antagonists
Basiliximab
จับกับIL-2 receptors ยับยั้งการกระตุ้นT-cells
ยับยั้งการปฏิเสธอวัยวะจากการปลูกถ่ายไต
มักใช้ร่วมกับcyclosporine และ glucocorticoid
Biologic agents
รักษา febrile neutropenia จากยาเคมีบำบัด
IVIG
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายระยะวิกฤต
โรค pemphigus vulgaris ที่มีอาการรุนแรงและไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน
โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องปฐมภูมิ
Antilymphocyte (ALG),
antithymocyte(ATG) antibodies
ลดการแบ่ง เซลล์ ยับยั้งการกระตุ้นและทำลายT-cells
รักษสาภาวะการปฏิเสธการปลูกถ่ายไตเฉียบพลัน
Interleukin-2
T-cell growth factors เพิ่มการเจริญของ T-cellและเพิ่มการหลั่ง cytokine
กระตุ้นการสร้าง T4 และT8 cell
รักษาAdvanced malignant melanoma
ใช้ช่วยในการรักษาRenal cell cancer
BCG
กระตุ้น macrophage, NK cell
Monoclonal anti-CD3 antibodies
ยับยั้งกระตุ้น T-cells
ยายับยั้งการจับของ Anti.กับตัวรับบนT-cells
CD3 เป็นส่วนของตัวรับAnti.ของT-cells
ลดการเกิดความรุนแรงรของการปฏิเสธปลูกถ่ายอวัยวะเฉียบพลัน
กลุ่มยากดภูมิคุ้มกัน (immunosupressive agents)
เป็นยาที่ใช้ป้องกันการทำลายภูมิคุ้มกันที่ร่างกาย
ไม่ต้องการให้เกิดขึ้น
โรคแพ้ภูมิตนเอง/โรคออโตอิมมูน (Autoimmune
Diseases)
ป้องกันและรักษาการต่อต้านอวัยวะใหม่
Acute graft rejection
Graft versus host disease
รักษาโรคมะเร็งบางชนิด
ยากดภูมิคุ้มกัน
2.กลุ่มยาที่มีพิษต่อเซลล์ (cytotoxic drugs)
Methotrexate
พัฒนาเพื่อรักษามะเร็ง
ใช้รักษา ข้ออักเสบรูมาตอยด์ psoriasis
กดไขกระดูก
Azathioprine
ใช้ป้องกันการปฏิเสธอวัยวะปลูกถ่าย ใช้กับ RA, SLE
ยับยั้งการสังเคราะห์พิวรีน ยับยั้งการเพิ่มจำนวนเซลล์
ห้ามภาวะตั้งครรภ์
มักใช้กับ cyclosporine และ glucocorticoid
Antimetabolites
Mycophenolate mofetil - ยับยั้งการสังเคราะห์guanine ใน B และ T lymphocyte- ป้องกันการปฏิเสธอวัยวะ ใช้ร่วมกับสเตียรอยด์และไซโคลสปอริน
Leflunomide - ยับยั้งการสังเคราะห์ไพริมิดีน ใช้กับข้ออักเสบรูมาตอยด์และ psoriatic arthritis
ยาที่เกี่ยวข้อง
ไมโคฟีโนเลท โมฟีทิล (Mycophenolate mofetil)
ข้อบ่งใช้ :เป็นยาป้องกันการปฏิเสธอวัยวะใช้
ร่วมกับ ไซโคลสปอริน ทราโคลิมัส และเหรือ เพรดนิโซโลน
อาการข้างเคียง: อาจทำให้เกิดภาวะซีด เม็ดเลือดขาวต่ำ แผลหายช้าและทางเดินอาหาร
ไมโคฟีโนลิค แอสิต (Mycophenolic acid)
ข้อบ่งใช้ :ไมโคฟโนลิค แอสิด เป็นยาป้องกันการปฏิเสธอวัยวะ ใช้ร่วมกับ ไซโคลสปอริน ทราโคลิมัส และ/หรือ เพรดนิโชโลน
อาการข้างเคียง : อาจทำให้เกิดภาวะซีด เม็ดเลือดขาวต่ำ แผล และทางเดินอาหาร
Cyclophosphamide
ทำปฏิกิริยา/ทำลาย DNA
ยับยั้งการแบ่งเซลล์ลิมโพซัยต์
ยารักษามะเร็ง
3.กลุ่มยายับยั้งแคลซินูริน (Calcineurin inhibitors)
ยับยั้งการพัฒนาของเซลล์ทีเฮลเปอร์ (T helper cell)
กดภูมิคุ้มคุ้มกัน ข้องกันการปฏิเสธอวัยวะปลูกถ่ายKeratoconjunctivitis sicca โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ สะเก็ดเงิน
ยาที่เกี่ยวข้อง
ทราโคลลิมัส (Tacrolimus)
ข้อบ่งใช้: ยาทราโคลิมัสออกฤทธิ์ปองกันการปฏิเสธอวัยวะโดยการกดภูมิต้านทานของร่างกาย
อาการข้างเคียง: ความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ผมร่วง มือสั่น
ไซโคลสปอริน (Cyclosporine)
ข้อบ่งใช้ :ยาไซใคลสปอรินออกฤทธิ์ป้องกันการปฏิเสธอวัยวะโดยการกดภูมิต้านทานของร่างกาย
อาการข้างเคียง: ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มืคสั่น
ยับยั้งการสร้างและการหลั่ง interleukin-2 จาก T-cells
1.กลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Cortricosteroids)
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ
เมื่อใช้นาน จะกดการทำงานของไต น้ำตาลในเลือดสูงและแผลในทางเดินอาหาร
ฤทธิ์ลดจำนวนและกดการทำงานของ WBCและลิมโพซัยต์ ยับยั้งการสร้างcytokine
ยาที่เกี่ยวข้อง
ยาเพรดนิโซโลน (Prednisolone)
อาการข้างเคียง : เช่น ความดันโลหิตสูง บวมน้ำ ประจำเดือนผิดปกติ กระดูกบาง กล้ามเนื้อ
อ่อนแรง น้ำหนักตัวขึ้น น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
ข้อบ่งใช้ : เป็นยาในกลุ่ม สเตียรอยด์ มักใช้ร่วมกับไซโคลสปอริน หรือ ทราโคลิมัส เพื่อป้องกันการปฏิเสธอวัยวะโดยการกดภูมิต้านทานของร่างกาย
4.กลุ่มยายับยั้ง Mammalian Target of Rapamycin (mTOR)
ป้องกันการปฏิเสธอวัยวะในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายไตและหัวใจโดยใช้ร่วมกับยาไซโคลสปอรินขนาดต่ำ
ยาที่เกี่ยวข้อง
ไซโลลิมัส (Sirolimus)
ข้อบ่งใช้ : ยาไซโลลิมัสออกฤทธิ์ป้องกันการปฏิเสธอวัยวะโดยการกดภูมิต้านทานของร่างกาย
อาการข้างเคียง : ผื่น แผลในปาก บาดแผลหายช้า และ ไขมันในเลือดสูง
เอเวอโรลิมัส (Everolimus)
ข้อบ่งใช้ :ยาเอเวอโรลิมัสออกฤทธิ์ป้องกันการปฏิเสธอวัยวะโดยการกดภูมิต้านทานของร่างกาย
อาการข้างเคียง : ผื่น แผลในปาก และ ไขมันในเลือดสูง
ยับยั้ง การกระตุ้นและพัฒนา T-cells
ยับยั้ง MTOR เช่น ควบคุมการสร้างเส้นเลือดที่มาเลี้ยง และควบคุมการกินอาหารและการใช้พลังงานของเซลล์