Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการนำหลักสูตรไปใช้ที่สอดคล้องกับบริบทต่าง ๆ - Coggle Diagram
กระบวนการนำหลักสูตรไปใช้ที่สอดคล้องกับบริบทต่าง ๆ
การนำหลักสูตรไปใช้ที่สอดคล้องกับ พรบ การศึกษา และหลักสูตรแกนกลาง
กำหนดหลักสูตร
หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ ต้องมีลักษณะหลากหลาย ทั้งวิชาการและอาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม
ให้สถานศึกษา มีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาสังคมกับชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ระดับท้องถิ่น
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
เป้าหมาย/จุดเน้น สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับท้องถิ่น
กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตร
การเลือกการจัดเนื้อหาวิชาและประสบการณ์
การนำเอาหลักสูตรไปใช้
การประเมินผลหลักสูตร
การปรับปรุงหลักสูตร
การกำหนดความมุ่งหมายของหลักสูตร
ระดับสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
ระดับชาติ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับกลุ่มสาระ
รหัสรายวิชา คำอธิบายรายวิชา เวลาเรียน 7 หน่วยกิต
ระดับชั้นเรียน
โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้
การนำหลักสูตรไปใช้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติวิชา
การจัดทำแผนการสอน
แผนการสอนระยะสั้น
ให้ความสะดวกแก่ผู้บริหารและศึกษานิเทศก์
เป็นแนวทางในการสร้างข้อทดสอบ
วางเป็นแนวทางในการสอน
แผนการสอนระยะยาว จัดทำเป็นรายภาคหรือรายปี
เพื่อให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกับธรรมชาติวิชา และสามารถสนองความต้องการของผู้เรียน
การนำหลักสูตรไปใช้ให้สอดคล้องกับรายวิชา
ค้นคว้าเนื้อหาวิชาเพิ่มเติมและจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผู้เรียน
จัดทำแผนการสอนสำหรับการสอนแต่ละคาบเพื่อเป็นแนวทางให้จัดการเรียนการสอนได้ สอดคล้องกับผู้เรียน
ปรับเนื้อหาวิชาที่สอน กิจกรรมการเรียนการสอน
ปรับสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับภูมิหลัง ความต้องการความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน
การนำหลักสูตรไปใช้ที่สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21
การพัฒนาหลักสูตร
เป็นการทำหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น
เป็นการจัดทำหลักสูตรขึ้นมาใหม่ โดยไม่มีหลักสูตรเดิมอยู่ก่อน
ลักษณะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้สาระวิชา
ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของนักเรียน โดยครูช่วยแนะนำและช่วยออกแบบกิจกรรม
สาระวิชาหลัก
ประวัติศาสตร์
การปกครองและหน้าที่พลเมือง
วิทยาศาสตร์
ศิลปะคณิตศาสตร์
ภูมิศาสตร์
ภาษาแม่ และภาษาส าคัญของโลก
เศรษฐศาสตร์
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
ทักษะด้านสารสนเทศสื่อ
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
แนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ระบบหลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21
สร้างสรรค์แนวปฏิบัติทางการเรียน
ระบบการพัฒนาทางวิชาชีพในศตวรรษที่ 21
ฝึกฝนทักษะความรู้ความสามารถในเชิงบูรณาการ
ระบบการประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21
สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ (ความรู้ ความถนัด สาขาอาชีพ ทัศนคติต่อการทำงานและอาชีพ)
ระบบสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
สร้างโอกาสที่จะประยุกต์ทักษะเชิงบูรณาการข้ามสาระเนื้อหา
ระบบมาตรฐานการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การใช้ข้อมูลความจริงจากกระบวนการสังเกต ตั้งประเด็นคำถาม