Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful Mind, อ้างอิง
กันต์ธีร์ อนันตพงศ์.(2558)…
A Beautiful Mind
-
-
-
พัฒนาการในแต่ละช่วงวัย :
-
วัยผู้ใหญ่
-
-
ระหว่างทำงานจอร์นเห็นภาพหลอนคนมาทำร้ายไล่ยิงตนเองทำให้มีอาการหวาดระแวงและมีพฤติกรรมก้าวร้าว จึงได้เข้ารับการรักษา
-
-
-
การรักษา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การรักษาด้วยไฟฟ้าหรือ ElectroconvulsiveTherapy การทำ ECT
เป็นการใช้กระแสไฟฟ้าไปกระตุ้นให้สารสื่อนำประสาท ภายในสมองที่หลั่งผิดปกติได้กลับมาทำงานโดยสม่ำเสมอเมื่อสารสื่อนำประสาทหลั่งอย่างต่อเนื่องดีแล้วกระบวนการทำงานทางจิต รวมถึงสภาวะทางอารมณ์ความคิด
ความรู้สึกและพฤติกรรมต่างๆก็จะกลับสู่ภาวะปกติ
ผลข้างเคียง ปวดศีรษะ ไม่สบายตัวปวดเมื่อยเนื้อตัว
สับสน สูญเสียความจำชั่วคราว บางรายอาจถึงขั้นกระดูกหัก ข้อเคลื่อนหรือเสียชีวิตได้ก็มีโดยเฉพาะกับผู้ป่วยที่เป็นโรคจำพวก โรคหัวใจโรคเกี่ยวกับสมองโรคเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ
การรักษาด้วยจิตสังคม
- การให้คำแนะนำแก่ครอบครัว (family counseling or psychoeducation) ให้ความรู้ในเรื่องโรค รวมทั้งสิ่งที่ญาติควรปฏิบัติต่อผู้ป่วย เพื่อไม่ให้เกิดความกดดันระหว่างผู้ป่วยและญาติ
- นิเวศน์บำบัด (milieu therapy) เป็นการจัดสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลให้น่าอยู่ และให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความรู้สึกเชื่อมั่นในตนเอง
- กลุ่มบำบัด (group therapy) เป็นการจัดกิจกรรมกลุ่มผู้ป่วย โดยส่งเสริมความรู้สึกการมีเพื่อนมีสังคม ไม่โดดเดี่ยว มีคนเข้าใจ และค่อยช่วยเหลือหรือให้คำแนะนำกัน
-
- การทำจิตบำบัด(psychotherapy) เป็นการรักษาโดยใช้วิธีพูดคุยระหว่างผู้ป่วยกับผู้เชี่ยวชาญ เช่น แพทย์ จิตแพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา ในเรื่องปัญหา ประสบการณ์ ความคิด ความรู้สึก ความสัมพันธ์ต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเองและปัญหาของตนเองมากขึ้น และเรียนรู้ที่จะแยกแยะสิ่งที่เป็นความจริงกับที่ไม่ใช่ความจริง
การรักษาด้วยยา
ระยะควบคุมอาการ เป้าหมายของการรักษาในระยะนี้คือ
การควบคุมอาการให้สงบลงโดยเร็ว ระยะให้ยาต่อเนื่อง หลังจากที่อาการสงบลงแล้ว ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับยาต่อเนื่อง เพื่อป้องกันไม่ให้กลับม่มีอาการกำเริบซ้ำ
-
-
เกณฑ์การวินิจฉัย
DSM-5
B. ระดับความสามารถในด้านสำคัญๆ เช่น ด้านการทำงาน การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น หรือการดูแลตนเอง
ลดลงไปจากเดิมอย่างชัดเจนอย่างน้อยหนึ่งด้าน
C. มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไป โดยต้องมี active phase (ตามข้อ A) อย่างน้อยนาน 1 เดือน (อาจน้อยกว่านี้หากรักษาได้ผล) และรวมช่วงเวลาที่มีอาการในระยะ prodromal หรือ residual phase โดยใน ช่วง prodromal หรือresidual phaseอาการที่พบอาจเป็นเพียงอาการด้านลบ หรืออาการตามข้อ A ตั้งแต่2อาการ ขึ้นไป แต่แสดงออกแบบเล็กน้อย (เช่น คิดแปลกๆ หรือมีอาการรับรู้ที่ไม่ปกติแต่ไม่ถึงขั้นประสาทหลอน)
-
D: ต้องแยกอาการโรคจิตที่เกิดจากโรคทางกายและสารเสพติดผู้ป่วยกลุ่มโรคออทิสติก จะวินิจฉัยก็ต่อเมื่อมีอาการหลงผิดประสาทหลอนเด่นชัดอย่างน้อยนาน 1 เดือน
F. ผู้ป่วยที่มีประวัติกลุ่มโรคออทิสติก หรือโรคเกี่ยวกับการสื่อสารตั้งแต่วัยเด็ก จะวินิจฉัยโรคจิตเภทก็ต่อเมื่อมีอาการหลงผิดหรืออาการประสาทหลอนที่เด่นชัดเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน ร่วมด้วย
-
-
-
-