Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิศวกรรมความปลอดภัยในการทำงานที่อับอากาศ, นางสาวมัณฑิรา แก้วมุสิก…
วิศวกรรมความปลอดภัยในการทำงานที่อับอากาศ
ความหมาย ชนิดและประเภทของที่อับอากาศ
นิยาม
ที่อับอากาศ คือ ที่ซึ่งมีทางเข้า-ออก จำกัดและมีการระบายอากาศที่ไม่เพียงพอ เช่น ท่อ ถัง อุโมงค์ ไซโล หอกลั่น ถัง สารเคมี
บรรยากาศที่เป็นอันตราย
ปริมาณไวไฟ 10% LEL
สารพิษอันตราย ppm
มีปริมาณออกซิเจน 19.5% -23.5%
ชนิดและประเภท
จำแนกตามลักษณะทางกายภาพ
แบ่งตามรูปร่าง
แบ่งตามการใช้งาน
แบ่งตามขนาด
2.อุบัติเหตุและอันตรายในที่อับอากาศ
บรรยากาศที่เป็นอันตราย
เกิดประกายไฟ ไฟไหม้
สัมผัส/สูดดมแก๊สพิษ
การขาดอากาศหายใจ
เกิดการระเบิดของฝุ่นระเบิด
การได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
3.การชี้บ่งอันตรายและการควบคุมอันตรายในที่อับอากาศ
ขั้นตอนในการขี้บ่งอันตรายในงานที่อับอากาศ
ระบุลักษณะอันตราย
บรรยากาศที่มีการติดไฟ
บรรยากาศที่เป็นพิษ
ออกซิเจนไม่เพียงพอ
อันตรายทางกายภาพ
ระบุสาเหตุของการเกิดอันตราย
เกิดจากอุปกรณ์
เกิดจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน
เกิดจากคน
ระบุแหล่งอันตราย 1M3E
Energy
Equipment
Material
Environment
กำหนดมาตรการป้องกัน
มาตรการป้องกันที่เป็นการบริหารจัดการ
สอดคล้องกับสาเหตุการเกิดอันตราย
มาตรการป้องกันที่เป็นการออกแบบทางวิศวกรรม
แบ่งขั้นตอนการทำงาน
จดบันทึกการกระทำทุกขั้นตอนที่เห็นพนักงานทำงานในครั้งแรก
รวมขั้นตอนให้มี 5-10 ตอน
ระบุข้อเสนอแนะ
พิจารณางานที่ต้องปฏิบัติ
งานติดตั้งนั่งร้าน
งานเจียร์
งานเจาะด้วยสว่าน
เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ
When ตรวจเมื่อไหร่
ขณะปฏิบัติงาน 30 นาที หรือ 1ชม.
หลังปฏิบัติงาน
ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
What ตรวจหาอะไร
ลักษณะของอากาศในสภาวะปกติ
แก๊สพื้นฐานที่ต้องตรวจก่อนทำงานในที่อับอากาศ
Where ตรวจที่ไหน
ล่าง Hydrogen sulfide
การตรวจวัด ออกซิเจน สารไวไฟและสารเคมีอันตราย
กลาง Carbon Monooxide
กลุ่มแก๊สที่มีน้ำหนักเบากว่าอากาศ และ มีน้ำหนักมากว่าอากาศ
บน Methane
5.ระบบการขออนุญาตทำงาน
วัตถุประสงค์
การจัดการ
แบบฟอร์ม
บทบาทหน้าที่
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ขณะ
หลัง
ก่อน
Permit to Work System
กฎหมาย
ความหมาย
ระบบการขออนุญาต
การวางแผน/เตรียมงาน
กำหนดผู้รับผิดชอบ/ข้อมูล
การสื่อสาร
ป้องกันอันตราย
6.หลักการปฏิบัติงานในที่อับอากาศที่ปลอดภัย
ติดป้าย "ที่อับอากาศอันตราย ห้ามเข้า" บริเวณทางเข้าสถานที่อับอากาศ
การจัดเตรียมพื้นที่ก่อนเข้าปฏิบัติงาน เช่น กำจัดสารเคมีอันตราย สารไวไฟ หรือ สารพิษ
การประเมินสภาพงานและการเตรียมความพร้อมในที่อับอาศ
การจัดเตรียมให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน เช่น จัดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่จำเป็น
การตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าก่อนที่จะนำเข้าทำงานในสถานที่อับอากาศ
นางสาวมัณฑิรา แก้วมุสิก 612051226