Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Max Weber’s image - Coggle Diagram
Max Weber’s
ประวัติ
เกิดเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2407 ในเออร์เฟิร์ต รัสเซีย
เป็นลูกชายคนโตของน้องชายเจ็ดคนและเป็นเด็กที่สดใสเป็นพิเศษ พ่อของเขาเป็นนักกฎหมายที่มีชื่อเสียงทางการเมือง
ปี ค.ศ. 1882 ศึกษากฎหมายปรัชญาและเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก
ปี ค.ศ. 1894 ได้รับตำแหน่งอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยไฮเดลเบิร์ก
ปี ค.ศ. 2446 ทำงานเป็นบรรณาธิการในวารสารทางสังคมศาสตร์ที่มีชื่อเสียง
14 มิถุนายน 2463 เขาเสียชีวิตจากการติดเชื้อในปอด
ทฤษฎีเกี่ยวกับการครอบงำ (Domination)
การปกครองหรือการครอบงำโดยใช้บารมี
การปกครองหรือการครอบงำโดยอาศัยจารีตประเพณี
การปกครองหรือการครอบงำโดยวิธีกฎหมายและการมีเหตุผล
แนวคิดระบบราชการ (bureaucracy)
หลักลำดับขั้น(hierarchy)
การบริหารที่มีลำดับขั้น จะทำให้ระบบการสั่งการและการควบคุมมีความรัดกุม ทำให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักความรับผิดชอบ (responsibility)
การรับผิดและรับชอบต่อการกระทำใด ๆ ที่ ตนได้กระทำลงไปและความพร้อมที่จะให้มีการตรวจสอบโดยผู้บังคับบัญชา
หลักแห่งความสมเหตุสมผล (rationality)
-มีการกำหนดระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน ขึ้นมาไว้อย่างชัดเจนในรูปของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับขององค์การ
-มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง ก่อนมอบหมายภาระหน้าที่ให้กระทำ
-ต้องมีการแยกทรัพย์สินส่วนตัวออกจากทรัพย์สินขององค์การอย่างเด็ดขาด
การมุ่งสู่ผลสำเร็จ (achievement orientation)
1.เจ้าหน้าที่ต้องมีหลักการและวิธีการในการตัดสินใจเลือกหนทางปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง โดยถือหลัก ประสิทธิภาพ หรือ หลักประหยัด
2.ความมีประสิทธิผลในการบริหารงานจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน
3.การบริหารจะได้รับประสิทธิผลสูงสุดต่อเมื่อมีการกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เหมาะสมกับลักษณะงาน สถานที่ ช่วงเวลา สภาพแวดล้อมในทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
หลักการทำให้เกิดความแตกต่างหรือความชำนาญเฉพาะด้าน (differentiation, specialization)
1.การแบ่งส่วนงานตามพื้นที่
2.การแบ่งงานตามหน้าที่ หรือภารกิจที่องค์การจะต้องปฏิบัติจัดทำ
3.การแบ่งงานตามลูกค้า หรือผู้รับบริการ
4.การแบ่งงานตามขั้นตอนหรือกระบวนการทำงาน
หลักระเบียบวินัย (discipline)
ต้องมีการกำหนดระเบียบ วินัย และบทลงโทษ ขึ้นมาเพื่อเป็นกลไกการควบคุมความประพฤติของสมาชิกทุกคนในองค์การ
ความเป็นวิชาชีพ (professionalization)
ผู้ปฏิบัติงานในองค์การราชการต้องปฏิบัติงานเต็มเวลา
ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในภาระหน้าที่ของตนด้วย
มีวิธีการจัดองค์การที่ มีระบบการทำงานที่ชัดเจน ตั้งอยู่บนหลักการของความสมเหตุสมผล
มีการใช้อำนาจตามสายการบังคับบัญชา มีการแบ่งงานตามหลักความชำนาญเฉพาะด้าน
ผู้มีอำนาจในระดับสูงยังเป็นผู้มีข้อมูลที่มากพอต่อการตัดสินใจได้ดีกว่าคนในระดับล่าง หรือประชาชนทั่วไป
ข้อดีของระบบราชการ
1.วิธีการจัดรูปแบบองค์การที่มีกฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน
การทำงานตามระบบราชการเปรียบเสมือนการผลิตสิ่งของด้วยเครื่องจักร
3.การสั่งการตามสายการบังคับบัญชา และการแบ่งงานกันทำตามความชำนาญเฉพาะด้าน ช่วยให้ระบบราชการมีประสิทธิภาพ
4.การที่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องทำงานตามขั้นตอน ช่วยลดความขัดแย้งระหว่างบุคคล
ข้อเสียของระบบราชการ
1.เกิดความล่าช้า เฉื่อยชา ซึ่งอาจนำมาซึ่งการขาดประสิทธิภาพ
2.รวมอำนาจไว้ที่ผู้บริหารระดับสูง อาจก่อให้เกิดปัญหาการใช้อำนาจโดยมิชอบ และเกิดความไม่คล่องตัว
3.ระบบราชการ มองคนเป็นแค่วัตถุ สิ่งของ
4.ระบบราชการ เป็นรูปแบบการจัดองค์กรที่แข็งเหมือนกรงเหล็ก (iron cage) ขาดความยืดหยุ่น