Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ…
บทที่ 7 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
เส้นทางนโยบายกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สงูอายุไทย
พ.ศ. 2542
องค์การสหประชาชาติประกาศให้ปี พ.ศ.2542 เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุ ประเทศ
ไทยจึงได้ออกระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
“คณะกรรมการส่งเสริมและ ประสานงานผู้สูงอายุแห่งชาติ” เรียกโดยย่อว่า “กสผ.” ภายใต้สานักนายกรัฐมนตรี
พ.ศ. 2545
ได้มีการจัดทาแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – 2564) ซึ่งเป็นแผนที่ทุก กระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติ
พ.ศ. 2541
มีการรับรอง ปฎิญญามาเก๊า โดยคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค-องค์การสหประชาชาติ
พ.ศ. 2546
ได้มีการจัดทาและประกาศใช้ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2540
มาตราที่ 54 บัญญัติว่า “บุคคล ซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ และไม่มีรายได้ เพียงพอ แก่การยังชีพมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ
มาตราที่ 80 วรรค 2 “รัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ
พ.ศ. 2550
มาตราที่ 53 บัญญัติว่า “บุคคล ซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การ ยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และ ความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ”
มาตราที่ 80 วรรค 2 รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็ก และเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคของ หญิงและชาย
พ.ศ. 2525
จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ขึ้นเป็นครั้งแรก
จัดทาแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 – 2544)
คณะรัฐมนตรีมีมติให้ วันที่ 13 เมษายน ของทุกปีเป็นวัน “ผู้สูงอายุแห่งชาติ”
กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้สูงอายุไทย
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
ข้อ 5 ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ต้องมีหลักประกัน
ข้อ 6 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึ่งพาตนเองได้ สามารถช่วยเหลือครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในสังคม
ข้อ 4 ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม มีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมกับวัย
ข้อ 7 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องกาหนดนโยบาย
ข้อ 3 ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้และพฒันาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง
ข้อ 8 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ
ข้อ 2 ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่
ข้อ 9 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องรณรงค์ปลูกฝัง
ข้อ 1 ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรีได้รับการพิทักษ์
พระราชบัญัญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้เลี้ยงดูผู้สูงอายุ มาตรา 17
บทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนผู้สูงอายุ มาตรา 16 , 18 – 22
บทบัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ มาตรา 4 - 10
บทบัญญัติระหว่างเตรียมการ มาตรา 23
บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุ มาตรา 11 - 12
บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐมนตรีรักษาการ มาตรา 24
บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ มาตรา 3
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544)
แผนผู้สูงอายุ แห่งชาติฉบับที่ 1 มองว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่ได้ทาคุณประโยชน์ต่อสังคมและสมควรได้รับการตอบแทน
ประกอบด้วยการดาเนินงานใน 5 ด้าน
3) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม
4) ด้านสวัสดิการสังคม
5) ด้านวิจัยและ พัฒนา
2) ด้านความมั่นคงทาง รายได้และการทำงาน
1) ด้านสุขภาพอนามัย
แผนผู้สูงอายแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – พ.ศ.2564)
วิสัยทัศน์ ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม
ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากและต้องการการเกื้อกูล
ครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักในการเกื้อหนุนผู้สูงอายุ
ประชากรผู้สูงอายุที่มีสถานภาพดี
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ประชากรทุกคนตระหนักถึงความสาคัญของการเตรียมการและมีการ เตรียมการเข้าสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ
เพื่อสร้างจิตสานึกให้คนในสังคมตระหนักถึงผู้สูงอายุในฐานะบุคคลที่มี ประโยชน์ต่อสังคม
ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 19 มาตรการ 57 ดัชนีชี้วัด และดัชนี รวมของแผน 3 ดัชนี
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพื่อ การพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ และการ พัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ โดยมีมาตรการดไอนอนการ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการประมวล และพัฒนาองค์ คงามรู้ด้านผู้สูงอายุ และการติดตาม ประเมินผล การดำเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ โดยมีมาตรการดำเนินการ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ.2552
วิสัยทัศน์ “ผู้สูงวัยเป็นหลักชัยของสังคม”
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ด้วยการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรีพึ่งตนเองได้และมี หลักประกันที่มั่นคง
เพื่อสร้างจิตสานึกให้สังคมไทยตระหนักถึงผู้สูงอยุในฐานะบุคคลที่มีประโยชน์ต่อส่วนรวม และ ส่งเสริมให้คงคุณค่าไว้ให้นานที่สุด
เพื่อให้ประชาชน ครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ และเอกชน ตระหนักและมีส่วนร่วมใน ภารกิจด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ 18 มาตรการหลัก 44 มาตรการย่อย 56 ดัชนีชี้วัด และดัชนีรวมของแผน 4 ดัชนี
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับ ผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการเพื่อ การเพิ่มการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการระดับชาติและ การพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและการพฒั นาผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่5 การประมวลพัฒนาและเผยแพรองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุอายุและการติดตามระเมินผล
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
สิทธิของผู้สูงอายตุามหลักการขององคก์ารสหประชาชาติ
การอุปการะเลี้ยงดู
การบรรลุความต้องการ
การมีส่วนร่วม
ความมีศักดิ์ศรี
การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
กฎหมายนโยบายอื่นๆของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับ การเตรียมความพร้อมของประชากรในการเข้าสู่ วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ
นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหลักประกัน ด้านสุขภาพและหลักประกันด้านรายได้
ปี พ.ศ.2539 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (กองทุนบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ, 2557) มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นหลักประกันการจ่ายบำเหน็จบานาญ
ปี พ.ศ.2554 พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ (กอช.) พ.ศ.2554 (กองทุนการออม แห่งชาติ, 2557) มีวัตถุประสงค์ คือ ส่งเสริมการออมทรัพย์ของสมาชิก
ปี พ.ศ.2533 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างหลักประกันและความมั่นคงในการดารงชีวิตให้แก่ลูกจ้างที่จ่ายเงินสมทบเข้ากอง
ปี พ.ศ. 2544 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund ; RMF) (สำนักงาน ก.ล.ต., 2557) เป็นกองทุนรวม มีวัตถุประสงค์ เป็นเครื่องมือหนึ่งในการสะสมเงินไว้ใช้ในวัยเกษียณ
ปี พ.ศ. 2530 พระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 (สานักงาน ก.ล.ต., 2557) กองทุนสารองเลี้ยงชีพ คือ กองทุนที่นายจ้างและลูกจ้างร่วมกันจัดตั้งขึ้น
ปี พ.ศ.2547 กองทนุ รวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund: LTF) (ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย, 2557) คือ กองทุนรวมเพื่อการลงทุนในตราสารแห่งทุน
ปี พ.ศ. 2471 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2471 (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2557) พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน ฉบับแรก เกิดคาว่า "ข้าราชการพลเรือน"
นโยบาย กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) (สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2555) ให้ความสาคัญกับยุทธศาสตร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) (สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2555) ให้ความสาคัญกับยุทธศาสตร์การพัฒนาคนเป็น ยุทธศาสตร์ลาดับที่สอง
จริยธรรม
ความประพฤติที่ชอบที่ปรารถนาของผู้พบเห็น
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
การพยาบาลผู้ปุวยระยะสุดท้าย
เมตตามรณะ (Euthanasia)
การทาทารุณกรรมในผู้สูงอายุ (Elderly Abuse)
พินัยกรรม