Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful Mind - Coggle Diagram
A Beautiful Mind
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วย
-
-
ชื่อ : นายจอรน์ ฟอบส์แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
-
-
-
-
โรคจิตเภท
อาการลบ
-
อารมณ์ทื่อ และเฉยเมย
-
-
-
กรณีศึกษา
- จอห์นอุ้มลูกไว้ที่ตักแต่ไม่สามารถปลอบลูกที่กำลังร้องไห้ได้
อาการบวก
อาการหลงผิด (delusion)
-
-
-
-
-
-
กรณีศึกษา
- จอห์นกรีดแขนตนเองเพราะว่าคิดว่าที่แขนมีการฝังชิป
- จอห์นพูดว่า “ผมไม่ค่อยชอบคนอื่น คนอื่นก็คงไม่ชอบผมเหมือนกัน” ซึ่งจากประโยคที่จอห์นพูดทำให้เห็นว่าจอห์นมีอาการหลงผิดที่คิดว่าคนอื่นไม่ชอบตนเอง
- จอห์นคิดว่ามีคนสะกดรอยตามตนเองอยู่ตลอดและพยายามจะทำร้ายเขา
- จอห์นคิดว่าตนเองเป็นสายลับคอยถอดรหัสทางการทหาร
การพยาบาล
- สร้างความไว้วางใจในการติดต่อกับผู้ป่วยแบบตัวต่อตัว
- ยอมรับผู้ป่วยโดยการเรียกชื่อให้ถูกต้อง รับฟังเรื่องราวอย่างสนใจเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ
- การสื่อสารกับผู้ป่วยต้องเปิดเผยรักษาคำพูดให้ข้อมูลอย่างชัดเจน
- แสดงการยอมรับอาการ โดยไม่โต้แย้งหรือท้าทายว่าที่ผู้ป่วยเล่าไม่เป็นความจริง
- ไม่แสดงกิริยาที่อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความสงสัยหรือไม่มั่นใจ
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
- ประเมินอาการหวาดระแวงทุกครั้งที่มารับบริการ
- ส่งเสริมศักยภาพการดูแลตนเองของผู้ป่วย
-
-
-
อาการหวาดระแวง
(Paranoid)
ความหมาย
ภาวะผิดปกติทางความคิดที่ทำให้เคลือบแคลงสงสัยหรือระแวงผู้อื่นอย่างไม่มีเหตุผล ผู้ป่วยอาจรู้สึกว่ามีคนจ้องทำร้ายอยู่ตลอดเวลา
-
-
กรณีศึกษา
- จอห์นจะมองซ้ายทีขวาที มองด้วยสายตาหวาดระแวงเพราะกลัวว่าจะมีคนจากกองทัพตามมาทำร้าย
- จอห์นบอกว่าเขาเป็นคนใจเย็น ไม่ชอบยุ่งกับใคร แต่การมีคนมาสะกดรอยตามทำให้เขากลัวและกังวลอย่างมาก
การพยาบาล
- ผู้ป่วยหวาดระแวง มักจะมีความโกรธ ก้าวร้าวควบคู่ไปด้วยเสมอ ควรใช้วิธี โอนอ่อนผ่อนปรนอดทนในสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออก และให้ผู้ป่ายทำกิจกรรมที่ระบายความก้าวร้าว
- ให้ผู้ป่วยมีกิจกรรม ลดเวลาที่ผู้ป่วยอยู่คนเดียว ซึ่งอาจทำให้มีความคิดหมกมุ่นอยู่ในเรื่องเดิม ๆ
3.ผู้ป่วยที่มีความหวาดระแวงในบางสิ่ง การให้ความจริงกับผู้ป่วยจะกระทำได้ต้องแน่ใจว่าผู้ป่วยรับได้ การให้เหตุผลเพียงอย่างเดียว ผู้ป่วยอาจไม่เชื่อถือ พยาบาลอาจจะต้องแสดงพฤติกรรมให้ผู้ป่วยแน่ใจด้วย
- ผู้ป่วยหวาดระแวงจะมีความเคลือบแคลงสงสัย พยาบาลต้องคอยสังเกตและระมัดระวังการก่อความวุ่นวาย การทำร้ายผู้อื่นและถ้าผู้ป่วยสามารถข้าร่วมกิจกรรมได้ ควรชมเชยเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจ และภาคภูมิใจในตัวเอง
2.สร้างความไว้วางใจในการติดต่อกับผู้ป่วยแบบตัวต่อตัว (One to one relationship) โดยเน้นการสร้างความวางใจและความเชื่อถือ
- การสื่อสารกับผู้ป่วยต้องเปิดเผย จริงใจ รักษาคำพูด ให้ข้อมูลอย่างชัดเจนตรงไปตรงมาหลีกเลี่ยงการมองเห็นจ้อง หรือระมัดระวังการกระซิบกระซาบต่อหน้าผู้ป่วย เพราะผู้ป่วยอาจเข้าใจว่าพยาบาลนินทาให้ร้ายหรือระแวง
-
-
-
ความหมายของโรคจิตเภท
-
-
-
ความผิดปกติด้านอารมณ์ ความคิด การรับรู้และพฤติกรรมในระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน โดยผู้ที่ีอาการจะต้องไม่มีโรคทางกาย โรคของสมองพิษของยาหรือยาเสพติด
-
-
การรักษา
-
-
-
-
-
การรักษาด้วยไฟฟ้า
-
-
กรณีศึกษา
- หมอบอกว่ากับภรรยาจอห์นว่าต้องรักษาด้วยไฟฟ้า สัปดาห์ละ 5 ครั้ง เป็นเวลา 10 สัปดาห์
- จอห์นเคยได้รับการรักษาด้วยยาแต่ยังมีพฤติกรรมทำร้ายตนเองและมีอาการหลงผิดประสาทหลอนอยู่
-
กฎหมายสุขภาพจิต
-
กรณีศึกษา
- จอห์นเข้าใจว่าจิตแพทย์ เป็นผู้ก่อการร้าย ที่จะมาทำร้ายตนเอง เลยทำให้เขาชกหน้าจิตแพทย์
- จิตแพทย์จึงนำตัวจอร์นไปโรงพยาบาลมีการผูกมัดมือจอร์นไว้ตั้งแต่พามาจากสถานที่ทำงาน มีภรรยาเป็นผู้ยินยอมให้การรักษา
-