Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอ…
หน่วยที่ 7 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
1. เส้นทางนโยบาย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
พ.ศ. 2525
จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ขึ้นเป็นครั้งแรก
จัดทาแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 – 2544)
คณะรัฐมนตรีมีมติให้ วันที่ 13 เมษายน ของทุกปีเป็นวัน “ผู้สูงอายุแห่งชาติ”
พ.ศ. 2525 แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1
(พ.ศ. 2525 - 2544)
ด้านสุขภาพอนามัย
ด้านความมั่นคงทางรายได้และการทางาน
ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม
ด้านสวัสดิการสังคม
ด้านวิจัยและพัฒนา
พ.ศ. 2540
มาตราที่ 54
บัญญัติว่า “บุคคล ซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ และไม่มีรายได้เพียงพอ แก่การยังชีพมีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
มาตราที่ 80 วรรค 2
“รัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ และผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้”
พ.ศ. 2541
มีการรับรอง ปฎิญญามาเก๊า โดยคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมภูมิภาค เอเชียและแปซิฟิค-องค์การสหประชาชาติ และจัดทาแผนปฏิบัติการเรื่องผู้สูงอายุใน ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค
พ.ศ. 2542
คณะกรรมการส่งเสริมและ ประสานงานผู้สูงอายุแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า “กสผ."
พ.ศ. 2545
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – 2564) ซึ่งเป็นแผนที่ทุก กระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติ ในขณะนี้
พ.ศ. 2546
ประกาศใช้ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2550
มาตราที่ 53
บัญญัติว่า “บุคคล ซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ”
มาตราที่ 80 วรรค 2
2. กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้สูงอายุไทย
1) ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
ข้อ 1
ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี ได้รับการพิทักษ์และคุ้มครองให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง และละเมิดสิทธิโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่ไม่สามารถพึ่งตนเองได้ และผู้พิการที่สูงอายุ
ข้อ 2
ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่ การยอมรับ บทบาทของกันและกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีในการ อยู่ร่วมกัน อย่างเป็นสุข
ข้อ 3
ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและ บริการทางสังคมอันเป็นประโยชน์ในการดารงชีวิต เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมรอบด้าน เพื่อสามารถ ปรับบทบาทของตนให้สมวัย
ข้อ 4
ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม มีโอกาสได้ทางานที่เหมาะสมกับวัยและตามความสมัครใจ โดยได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจและเห็นชีวิตมีคุณค่า
ข้อ 5
ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ต้องมีหลักประกันและสามารถเข้าถึงบริการด้าน สุขภาพอนามัยอย่างครบวงจรโดยเท่าเทียมกัน รวมทั้งได้รับการดูแลจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตอย่างสงบ ตามคตินิยม
ข้อ 6
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึ่งพาตนเองได้ สามารถช่วยเหลือครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในสังคม เป็นแหล่งภูมิปัญญาของคนรุ่นหลัง มีการเข้าสังคม มีนันทนาการที่ดี และมีเครือข่ายช่วยเหลือซึ่งกันและกันในชุมชน
ข้อ 7
รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องกาหนดนโยบาย และแผนหลักด้านผู้สูงอายุ ส่งเสริมและประสานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องให้บรรลุผลตามเปูาหมาย
ข้อ 8
รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ เพื่อเป็นหลักประกันและการบังคับใช้ในการพิทักษ์สิทธิ คุ้มครองสวัสดิภาพ และจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ
ข้อ 9
รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องรณรงค์ปลูกฝัง ค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุตามวัฒนธรรมไทยที่เน้นความกตัญญูกตเวทีและเอื้ออาทรต่อกัน
2) พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ มาตรา 3
บทบัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ มาตรา 4 - 10
บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุ มาตรา 11 - 12
บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้เลี้ยงดูผู้สูงอายุ มาตรา 17
บทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุนผู้สูงอายุ มาตรา 16 , 18 – 22
บทบัญญัติระหว่างเตรียมการ มาตรา 23
บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐมนตรีรักษาการ มาตรา 24
3) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544)
1) ด้านสุขภาพอนามัย 2) ด้านความมั่นคงทางรายได้และการทางาน 3) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม 4) ด้านสวัสดิการสังคม 5) ด้านวิจัยและพัฒนา
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 มองว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่ได้ทาคุณประโยชน์ต่อสังคมและสมควรได้รับการตอบแทน
4) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – พ.ศ.2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
มาตรการ 1 หลักประกันด้านรายได้เพื่อวัยสูงอายุ
มาตรการ 2 การให้การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรการ 3 การปลุกจิตสานึกให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
มาตรการ 1 ส่งเสริมความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ดูแลตนเองเบื้องต้น
มาตรการ 2 จัดบริการให้คาปรึกษาทั่วไปในสถานบริการทางสุขภาพของรัฐและเอกชน
มาตรการ 3 ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันและสร้างความเข้มแข็งขององค์กรผู้สูงอายุ
มาตรการ 4 ส่งเสริมด้านการทางานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ
มาตรการ 5 สนับสนุนผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ
มาตรการ 6 ส่งเสริมสนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุ และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และความสามารถเข้าถึงข่าวสารและสื่อ
มาตรการ 7 มาตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัย
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุ
มาตรการ 1 คุ้มครองด้านรายได้
มาตรการ 2 หลักประกันสุขภาพ
มาตรการ 3 ด้านครอบครัวผู้ดูแลและการคุ้มครอง
มาตรการ 4 ระบบบริการและเครือข่ายการเกื้อหนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
มาตรการ 1 การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ
มาตรการ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตหรือฝึกอบรมบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการประมวล และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ และการติดตามประเมินผล การดาเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
6) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ.2552
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
มาตรการ 1 หลักประกันด้านรายได้เพื่อวัยสูงอายุ
มาตรการ 2 การให้การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรการ 3 การปลุกจิตสานักให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่า และศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและการพัฒนาผู้สูงอายุ
มาตรการ 1 ส่งเสริมความรู้ ด้านการส่งเสริมสุขภาพปูองกันดูแลตนเองเบื้องต้น
มาตรการ 2 ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันและสร้างความเข้มแข็งขององค์กรผู้สูงอายุ
มาตรการ 3 ส่งเสริมด้านการทางานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ
มาตรการ 4 สนับสนุนผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ
มาตรการ 5 ส่งเสริมสนับสนุนสื่อทุกประเภทให้มีรายการเพื่อผู้สูงอายุและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถเข้าถึงข่าวสารและสื่อ
มาตรการ 6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัย
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ระบบคุ้มครองทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุ
มาตรการ 1 คุ้มครองด้านรายได้
มาตรการ 2 หลักประกันด้านสุขภาพ
มาตรการ 3 ด้านครอบครัว ผู้ดูแลและการคุ้มครอง
มาตรการ 4 ระบบบริการและเครือข่ายการเกื้อหนุน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการเพื่อการเพิ่มการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการระดับชาติและการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
มาตรการ 1 การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ
มาตรการ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การประมวล พัฒนา และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุและการติดตามระเมินผล
7) สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ
การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
การมีส่วนร่วม
การอุปการะเลี้ยงดู
การบรรลุความต้องการ
ความมีศักดิ์ศรี
3. กฎหมาย นโยบายอื่นๆ ของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมของประชากรในการเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ
1) นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหลักประกันด้านสุขภาพและหลักประกันด้านรายได้
ปี พ.ศ. 2471 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2471
ปี พ.ศ. 2530 พระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530
ปี พ.ศ.2533 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533
ปี พ.ศ.2539 พระราชบัญญัติกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ พ.ศ.2539
ปี พ.ศ.2554 พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ (กอช.) พ.ศ.2554
ปี พ.ศ. 2544 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund ; RMF)
ปี พ.ศ.2547 กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund: LTF)
2) นโยบาย กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2555)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) (สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2555)
4. จริยธรรม
1. พินัยกรรม
แบบเขียนเองทั้งฉบับ ผู้ทำพินัยกรรมต้องเขียนด้วยลายมือตนเองทั้งฉบับ ไม่ต้องมีพยานรับรอง
แบบธรรมดา ต้องทำเป็นหนังสือ มีการลงลายมือผู้ทาพินัยกรรม พยาน 2 คน
แบบเอกสารฝุายเมือง ผู้ทำพินัยกรรมต้องไปทำที่อำเภอแจ้งความประสงค์ว่าตนต้องการทำพินัยกรรมเพื่อยกทรัพย์สินให้แก่ใคร
แบบเอกสารลับ ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรมบรรจุไว้ในซองและคาบรอยผนึกบนซอง และเก็บเอกสารไว้ที่อำเภอ
แบบวาจา มักทำเมื่อไม่สามารถทาพินัยกรรมแบบอื่นได้ มีพยาน 2 คน และพยานแจ้งความประสงค์ของผู้ทาพินัยกรรมต่อนายอำเภอ
พินัยกรรมชีวิต (Living will)
เอกสารที่จัดทาขึ้นเพื่อแสดงเจตจานงว่าเมื่ออยู่ในสภาพที่ไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง เช่น ในสภาวะเจ็บปุวยหนักไม่รู้สึกตัวและใกล้ตาย ว่าจะเลือกให้การดาเนินการรักษาในระยะสุดท้ายของชีวิตอย่างไร
2. การพยาบาลผู้ปุวยระยะสุดท้าย
พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการประเมินความพร้อมในการรับรู้ความพร้อมที่จะตาย ผู้สูงอายุอาจพร้อมหรือไม่พร้อมที่จะเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิต
3. เมตตามรณะ (Euthanasia)
Active Euthanasia คือ การที่แพทย์ฉีดยา ให้ยา หรือกระทำโดยวิธีการอื่นๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยตายโดยตรง มีในเนเธอร์แลนด์ประเทศเดียว
Passive Euthanasia คือ การที่แพทย์ปล่อยให้ผู้ปุวยที่สิ้นหวังตายโดยไม่ให้การรักษา มีในสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรีย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส เดนมาร์ก สวีเดน อิสราเอล และเยอรมัน
4. การทำทารุณกรรมในผู้สูงอายุ (Elderly Abuse)
การผูกมัดผู้สูงอายุโดยไม่จำเป็น
ละเลยหน้าที่ความรับผิดชอบ ขาดความเอาใจใส่ เพิกเฉยต่อการร้องขอความช่วยเหลือ
การขับไล่ผู้สูงอายุออกจากบ้านหรือที่พักอาศัย การลักขโมย ยักยอกทรัพย์สินของผู้สูงอายุ
การแสดงท่าที การพูดจาที่แสดงถึงความไม่เคารพยกย่อง
ขาดการตระหนักถึงสิทธิมนุษยชน สิทธิผู้ป่วย
องค์ประกอบทางจริยธรรมในการพยาบาลผู้สูงอายุ
ให้ความเคารพยกย่อง
ยอมรับความสูงอายุว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงตามวงจรชีวิตมนุษย์
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ คงความสามารถในการทาหน้าที่ของร่างกายและดูแลตนเอง
ปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้สูงอายุอย่างเท่าเทียมกับบุคคลในวัยอื่น
ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
ศึกษาหาความรู้ และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ เพื่อให้มีความรู้ในการดูแลและให้คำแนะนาผู้สูงอายุ
รักและศรัทธาในวิชาชีพ
นางสาวจริยาดา คำวงษ์
ชั้นปี 3 รหัส 621201110