Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ - Coggle Diagram
การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุ
ไฟดูด ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
ถูกไฟดูด ทำอันตรายต่อระบบประสาทและหัวใจ
ถูกความร้อนจากเปลวไฟเนื้อเยื่อถูกความร้อนมีเลือดมาเลี้ยงน้อยลง
ประเมินระดับความรุนแรง
ความลึกของแผล
First Degree Burn
Second Degree Burn
Third Degree Burn
ความกว้างของแผล
ตำแหน่งของแผล
ความเกี่ยวข้องของแผลกับการทำงานของอวัยวะอื่น ๆ
ปัญหาและการพยาบาล
ระยะ24 ชั่วโมงแรก
เสี่ยงต่อภาวะช็อคและเสียสมดุลของอิเลคโตรลัยท์
การพยาบาลที่สำคัญ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอิเลคโตรลัยท์ Lactate Ring’s (RLS) หรือ NSS ตามแผนการรักษา
สิ่งแปลกปลอมติดคอ
พบบ่อยในเด็กเล็ก โดยเฉพาะอายุ 1-3 ปี
อาการและอาการแสดง
ทางเดินหายใจส่วนต้นอุดกั้น
อุดกั้นบางส่วน เด็กจะมีอาการหายใจลำบาก อุดกั้นอย่างสมบูรณ์จะทำให้เด็กขาดออกซิเจน
อุดกั้นบริเวณกล่องเสียง
การรักษา
เปิดปากเด็ก ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอมให้ล้วงออก
อายุน้อยกว่า 1 ปี ให้จับเด็กคว่ำ ศีรษะต่ำ ตบหลัง สลับด้วยนอนหงาย ทำ Chest Thrust
เด็กโตใช้เทคนิค Abdominal Thrust
การป้องกัน
ให้ความรู้แก่ครอบครัวเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก
จัดเตรียมอาหารให้เด็กต้องเหมาะสม ชิ้นเล็กพอคำ
ไม่ให้เล่นหรือหัวเราะกันขณะรับประทานอาหาร
เลือกของเล่นให้เหมาะสมกับวัย
หกล้ม และตกจากที่สูง
รุนแรงจนเด็กต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาลคือ กระดูกหักและการบาดเจ็บที่ศีรษะ
อาการและอาการแสดง
ปวดมาก
ยกอวัยวะที่กระดูกหักไม่ได้
บวม
เขียวช้ำ
กดเจ็บ
การรักษา
การรักษาเบื้องต้น
ให้อวัยวะนั้นอยู่นิ่ง ๆ
ใส่เฝือกชั่วคราว
การรักษาในโรงพยาบาล
Reduction
Closed Reduction
การดึงกระดูกให้เข้าที่ด้วยมือ
Traction การดึงกระดูกให้เข้าที่โดยใช้น้ำหนักถ่วง
Open Reduction
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยการผ่าตัดใช้โลหะยึดไว้
Immobilization
จำกัดการเคลื่อนไหวเพื่อลดอาการบวม เช่น การเข้าเฝือกปูน
Rehabilitation
การฟื้นฟูสมรรถภาพอวัยวะ
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของการบาดเจ็บ ของหลอดเลือดและเส้นประสาท
ประเมินความแน่นของเฝือก
จัดท่านอนให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจสอบน้ำหนักถ่วงให้ถูกต้อง
ดูแลให้ผู้ป่วยบริหารข้อและกล้ามเนื้อในส่วนใต้ต่ออวัยวะที่เข้าเฝือกปูน