Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท 7 นโยบาย กฎหมาย จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บท 7 นโยบาย กฎหมาย จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
นโยบาย
ภาพลักษณ์ผู้สูงอายุที่พึงปรารถนา
-มีสุขภาพกายและจิตที่ดี
-อยู่ในครอบครัวอย่างมีความสุข สังคมที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
-พึ่งตนได้ มีประโยชน์ เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของครอบครัวและสังคม
-มีหลักประกันมั่นคง
-มีความรู้และมีโอกาสได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตราการทางสุขภาพ
-ต้องเน้นบริการที่เข้าถึงตัวผู้สูงอายุในเชิงรุก การบริการระดับชุมชน และการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Community base care, Home care)
ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2542
ข้อที่ 1 ได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และศักดิ์ศรี ได้รับการพิทักษ์และการคุ้มครองให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง
ข้อที่ 2 ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัว โดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่ การยอมรับบทบาทของกันและกัน ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ข้อที่ 3 ควรได้รับโอกาศในการศึกษา เรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่องเข้าถึงขเอมูลข่าวสารและบริการทางสังคมอันเป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิต
ข้อที่ 4 ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้สังคม มีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมกับวัยตามความสมัครใจ
ข้อที่ 5 ควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขอนามัยของตนเอง ต้องมีหลักประกันและสามารถเข้าถึงหลักประกันและสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพอนามัยอย่างครบวงจรโดยเท่าเทียมกัน
ข้อที่ 6 ผู้สูงอายุควรได้รับบทบาท และส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัว ชุมชน และสังคม โดยเฉพาะการรวมกลุ่มเพื่อแแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และความเข้าใจอันดีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกันและกับบุคคลทุกวัย
ข้อที่ 7 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์การภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคม
ข้อที่ 8 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคม ต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ
ข้อที่ 9 รัฐโดยมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกสาร ประชาชน สถาบันสังคม ต้องรณรงค์ปลูกฝังค่านิยมให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุตามวัฒนธรรม
กฎหมายเกี่ยวกับผู้สูงอายุไทย
รัฐธรรมนูญ 2550
-มาตรา 53 "บุคคล ซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีบรบูรณ์ และไม่มีรายได้เพียงพอ แก่การยังชีพ มีสิทธฺ์ได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ"
-มาตรา 80 "iรัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย รวมทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ"
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546
เหตุผลในการตราพระราชบัญญัติเพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 54 ซึ่งได้บัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุให้สิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2597 บัญญัติให้หลักประกันและความช่วยเหลือแก่ผู้สูงอายุ โดยจัดตั้งหลักประกันในกรณีชราภาพ
กฎหมายอาญา มาตรา 398 วางโทษสถานเบาแก่ผู้ทำทารุณคนชราและผู้สูงอายุ
พ.ร.บ 2542 มาตรา 8 วรรค 1 กำหนดหลักการในการจัดการศึกษาแก่ประชาชนตลอดทุกช่วงอายุ
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564)
วิสัยทัศน์ "ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม"
-สุขภาพดีทั้งกายและจิต ครอบครัวอบอุ่น มีสังคมที่ดี
-ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากได้รับการอบรมเกื้อกูล และดำรงอยู่ในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง
-ครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักในการเกื้อหนุนผู้สูงอายุ
-ระบบสวัสดิการสามารถรองรับผู้สูงอายุให้ดำรงอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ
-รัฐจะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้เอกนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบบริการ
ยุทธศาสตร์ของแผนผู้สูงอายุฉบับที่ 2
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่ีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการประมวล และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุและการติดตามประเมินผล การดำเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
จริยธรรมทางการพยาบาลผู้สูงอายุ
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
พินัยกรรม
-พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
-พินัยกรรมแบบธรรมดา
-พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
-พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
-พินัยกรรมแบบวาจา
พินัยกรรมชีวิต (Living will)
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
Euthanasia
-Active Euthanasia
-Passive Euthanasia
การทารุณกรรมในผู้สูงอายุ (Elderly Abuse)
องค์ประกอบทางจริยธรรมในการพยาบาลผู้สูงอายุ
-ให้ความเคารพยกย่อง
-ยอมรับความสูงอายุว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงตามวงจรชีวิตมนุษย์
-ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ คงความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายและดูแลตนเอง
-ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
-ศึกษาหาความรู้ และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ
-รัก สรัทธา เห้นคุณค่าของวิชาชีพ