Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้อาหารทางหลอดเลือดดํา - Coggle Diagram
การให้อาหารทางหลอดเลือดดํา
โรคที่ควรได้รับอาหารทางหลอดเลือดดํา
ภาวะทางเดินอาหารติดต่อกับภายนอก
ภาวะลําไส้สั้นกว่าปกติ
ผู้ป่วยไฟไหม้น้ำร้อนลวก
ภาวะไตวาย
ภาวะลําไส้อักเสบ
Anorexia nervosa
ข้อพิจารณาในการเลือกทางของให้อาหารทางหลอดเลือดดํา
Partial or peripheral parenteral nutrition, PPN
เป็นการให้โภชนบําบัด ทางหลอดเลือดดํา
ส่วนปลาย หรือให้สารอาหารบางส่วน
Total parenteral nutrition, TPN
เป็นการให้โภชนบําบัด ทางหลอดเลือดดําส่วนกลาง
สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดํา
คาร์โบไฮเครต
Glucose เป็นคาร์โบไฮเดรตที่นิยมใช้กันมากที่สุด เป็นสารที่ให้พลังงานได้
ไขมัน
ควรให้พลังงานอย่างน้อยร้อยละ 4 ในรูปของไขมัน
โปรตีน
การให้ปริมาณกรดอะมิโนควรให้ประมาณ 0.5 กรัม - 3.5 กรัม/ก.ก/ วัน ทั้งนี้การให้ปริมาณของกรดอะมิโนควรจะสัมพันธ์กับปริมาณของพลังงานที่ให้ด้วย
น้ำ
ปริมาณของน้ำที่ให้คิดจากสูตรมาตรฐานที่ใช้กันอยู่ทั่วไปคือสูตร Holliday & Segar น้ำที่สูญเสียจากทางเดินอาหาร, ดูดออกทาง N-G tube, ท้องเสีย, มีไข้ต้องให้เพิ่มขึ้นด้วย
วิตามิน
เพื่อให้metabolism ของเซลล์เป็นไปตามปกติผู้ป่วยจําเป็นต้องได้รับวิตามินร่วมด้วย
การพยาบาล
ด้านจิตใจ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับการให้อาหารทางหลอดเลือดดําและการปฏิบัติตัวขณะใส่สายสวนให้อาหาร
ด้านร่างกาย
การใส่สายให้อาหารทางหลอดเลือดดํา
การพยาบาลหลังใส่สายให้อาหารทางหลอดเลือดดํา
การให้สารอาหารเข้าทางหลอดเลือดดําต้องใช้เทคนิคปลอดเชื้อและไม่ให้
อากาศเข้าไป และสายที่ให้สารละลายอาหารควรเปลี่ยนทุก 24-48 ชั่วโมง
การเริ่มให้สารอาหารทางเลือดดําในระยะแรก เริ่มด้วยอัตรา 40-60มิลลิลิตรต่อชั่วโมง แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้น
ไม่ควรเจาะเลือดหรือฉีดยา หรือให้เลือดผ่านทางสายสวนที่ให้อาหารทางหลอดเลือดดํา
แผลที่ใส่สายสวนให้อาหารไม่ควรเปิดโดยไม่จําเป็น การทําแผลต้องใช้เทคนิคปลอดเชื้ออย่างเคร่งครัด
ไม่ควรเติมสารละลายอย่างอื่นเข้าไปผสมสารละลายที่ผสมเสร็จ หรือสารละลายที่กําลังให้ผู้ป่วยอยู่
ไม่ปลดหัวต่อที่ติดกับสายสวนให้อาหารที่ต่อจากผู้ป่วย
กรณีพบตะกอนหรือก้อนเลือดเกิดขึ้นในสายให้อาหารทางหลอดเลือดดํา ให้รายงายแพทย์ทราบ
กรณีสายสวนอุดตันหรือลื่นหลุด ต้องรายงานแพทย์ปละให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายเท้าทันที
ไม่ควรหยุดหรือยกเลิกการให้สารละลายอาหารทางหลอดเลือดดํา โดยทันที ควรค่อยๆลดปริมาณ
การตรวจและติดตามผู้ป่วย
ชั่งน้ำหนักตัวทุกครั้ง ถ้าน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้นมากกว่า 1 กิโลกรัม/สัปดาห์ ควรตรวจเช็ค water balance
วัดปริมาณสารน้ำเข้าออกทุก 4-8 ชั่งโมง
ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง
เจาะเลือดเพื่อดูserum electrolyte, blood sugar, BUN ทุกวัน
CBC, serum protein, liver function test, แคลเซียม, ฟอสฟอรัส, แมกนีเซียม สัปดาห์ละครั้ง
เก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง เพื่อตรวจหา non protein nitrogen
การรักษาผลแทรกซ้อน
Mechanical complication
Penumothorax
Air embolism
ตําแหน่งของปลายสายสวนผิดที่
Catheter sepsis
Metabolic complication
จาก glucose metabolism
จาก protein metabolism
จากlipid metabolism
ความผิดปกติของ electrolytes และอื่นๆ