Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพัฒนาการ - Coggle Diagram
ทฤษฎีพัฒนาการ
ทฤษฎีจิตสังคมของอีริกสัน
แนวโน้มพื้นฐานที่ติดตัวมา ตั้งแต่กำเนิด 2 ชนิด
การจัดและรวบรวม (organization)
การปรับตัว (adaptation)
1) การซึมซาบหรือดูดซึมประสบการณ์ (assimilation)
2) การปรับโครงสร้างทางสติปัญญา (accommodation)
แบ่งพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา
ออกเป็นชั้นใหญ่ๆ 4 ขั้น
2) การบรรลุถึงขั้นเชาวน์ปัญญาขั้นหนึ่ง
3) ระดับขั้นของพัฒนาการทางเชาวน์
ปัญญาเป็นสิ่งที่เป็นไปตามขั้นไม่สับสน
1) ชั้นระดับเชาวน์ปัญญา
4) ขั้นของพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา
แบ่งองค์ประกอบที่มีส่วนเสริมสร้างพัฒนา
การเชาวน์ปัญญามี 4 องค์ประกอบ
2) ประสบการณ์
3) การถ่ายทอดความรู้ทางสังคม
1) วุฒิภาวะ (maturation)
4) กระบวนการพัฒนาสมดุล (equlibration)
แบ่งขั้นพัฒนาการของเชาวน์ปัญญาออกเป็น 4 ขั้น
ขั้นที่ 1 ขั้นพัฒนาความรู้สึกทางอวัยวะเคลื่อนไหว
ขั้นที่ 2 ขั้นการเริ่มมีความคิดและความเข้าใจ
ขั้นที่ 3 ขั้นการใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม
ขั้นที่ 4 ชั้นการใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเขิงนามธรรม
การนำไปใช้ในการจัดการศึกษา
เมื่อทำงานกับนักเรียน ผู้สอนควรคำนึงถึงพัฒนา
การทางสติปัญญาของนักเรียน
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
แบ่งขั้นตอนพัฒนาการบุคลิกภาพ
ของมนุษย์ออกเป็น 5 ขั้น
1) ขั้นปาก ( 0-18 เดือน)
2) ขั้นทวารหนัก (18 เดือน - 3 ปี)
3) ขั้นอวัยวะเพศ ( 3 - 5 ปี)
4) ขั้นแฝง (latency stage) ( 6 - 12 ปี )
5) ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (genital stage) อายุ 12 ปีขั้นไป
การประยุกต์ใช้ทฤษฎี
สามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เด็กมีการพัฒนาการ
ด้านบุคลิกภาพที่เหมาะสมได้
ครูผู้สอนสามารถนำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้โดย
การให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศที่ถูกต้อง
ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของพีอาเจต์
แบ่งพัฒนาการทางบุคลิกภาพออกเป็น 8 ขั้น
ขั้นที่ 1 ระยะทารก (Infancy period) อายุ 0-2 ปี
ขั้นที่ 2 วัยเริ่มต้น (Toddler period) อายุ 2-3 ปี
ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน (Preschool period) อายุ 3-6 ปี
ขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน (School period) อายุ 6-12 ปี
ขั้นที่ 5 ระยะวัยรุ่น (Adolescent period) อายุ 12-20 ปี
ขั้นที่ 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ (Early adult period) อายุ 20-40 ปี
ขั้นที่ 7 ระยะผู้ใหญ่ (Adult period) อายุ 40-60 ปี
ขั้นที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ (Aging period) อายุประมาณ 60 ปีขึ้นไป
ประยุกต์ใช้ทฤษฎี
ครูควรให้จัดให้มีกิจกรรมให้เด็กได้แสดงออกทั้งในด้าน
ของความคิด ด้านสติปัญญา ด้านความสามารถ ให้อิสระ
ทางความคิดต่อเด็ก ให้เด็กได้สร้างผลงานต่างๆ ด้วยตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
แบ่งพัฒนาการทางจริยธรรมออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 ระดับก่อนกฎเกณฑ์สังคม
1) การลงโทษ และการเชื่อฟัง
2) กฎเกณฑ์เป็นเครื่องมือเพื่อประโยชน์ของตน
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม
1) ความคาดหวังและการยอมรับในสังคม สำหรับ "เด็กดี"
2) กฎและระเบียบ การทำถูกไม่ประพฤติผิด
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมตามหลักการด้วยวิจารณญาณ
1) สัญญาสังคม หรือหลักการทำตามคำมั่นสัญญา
2) หลักการทางคุณธรรมสากล
ประยุกต์ใช้ทฤษฎี
ทำให้ผู้สอนรู้ว่าเด็กเล็กมีการตอบสนองข้อ
ขัดแย้งในเรื่องจริยธรรม แตกต่างจากเด็กโต
ใช้สถานการณ์ตัวอย่างหรือเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรียนมากระตุ้น ให้ผู้เรียนตระหนักถึงการมีจริยธรรม