Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายระบบประสาท (Nervous System) - Coggle Diagram
การตรวจร่างกายระบบประสาท (Nervous System)
การตรวจ Cranial nerves
4.Trochlea nerve (การเคลื่อนไหวของลูกตา)
การตรวจ Accomodation
5.Trigerminal nerve (รับความรู้สึกที่ใบหน้าและควบคุมกล้ามเนื้อในการเคี้ยวอาหาร)
การตรวจความรู้สึกเจ็บ Pain
ใช้เข็มหมุดปลายแหลมแตะหน้าผากแก้มคางหนังศรีษะ
ความรู้สึกสัมผัส Touch Sensation
ใช้สำลีแตะที่เดียวกัน
กล้ามเนื้อการเคี้ยว
ให้ผู้ป่วยขบกรามเข้าออกผู้ตรวจใช้นิ้วคลาที่กระพุ้งแก้มทั้งสองข้างคนปกติจะพบการเกร็งทั้งสองข้างเท่ากัน
6.Abducens nerve (การเคลื่อนไหวของลูกตา)
การตรวจ Accomodation
7.Facial nerve (ควบคุมกล้ามเนื้อหน้าแสดงอารมณ์และรับรส)
ตรวจกล้ามเนื้อ Frontails
ให้ผู้ป่วยยักคิ้ว ดูหน้าผากย่น
ตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis Oculi
ให้ผู้ป่วยหลับตา ปกติจะหลับตาได้ ผิดปกติจะมองเห็นตาขาว
ตรวจกล้ามเนื้อ Zygomaticus
ให้ผู้ป่วยยิงฟันดูการยกของมุมปาก
ตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis fris
ให้ผู้ป่วยเป่าแก้มทั้งสองข้าง ปากจู๋ ผิวปาก
ตรวจการรับรส บริเวณรับรสของลิ้น
8.Auditoty nerve
การตรวจการได้ยินและการฟังโดยใช้ Tuning Fork
Weber's Test สั่นแล้วเอามาแตะที่กลางศรีษะ
Rinne's Test เคาะให้สั่นแล้วเอามาวางที่ mastoid procass
9.Glossopharyngeal nerve
มีหน้าที่ การทำงานควบคุมลิ้นไก่ เพดานปากอ่อน หลอดคอ กล่องเสียง การหลั่งน้ำลาย การรับรสที่โคนลิ้น
สังเกตว่ามีเสียงแหบขึ้นจมูก
ให้ผู้ป่วยร้องอาพยาบาลสังเกตการยกตัวของลิ้นไก่ปกติลิ้นไก่จะยกในแนวตรง
ทดสอบ Gag reflex โดยใช้ไม้กดลิ้นแตะที่ผนังคอหรือโคนลิ้น ปกติจะขย้อน
3.Oculomotor nerve (การเคลื่อนไหวของลูกตา)
การตรวจ Accomodation
10.Vegus nerve
2.Optic nerve (มองเห็น)
การตรวจสายตา visual acuity
การตรวจลานสายตา visual field
Accessory nerve
กล้ามเนื้อ Sternocleidomastiod
ผู้ป่วยหันหน้าไปทางด้านหนึ่ง พยายามดันคางกลับไปทางเดิม คนปกติจะต้านแรงผู้ตรวจได้
กล้ามเนื้อ Traprzius
ให้ผู้ป่วยนั่งหรือยืนตัวตรงๆ สังเกตระดับไหล่ว่าเท่ากันหรือไม่ ผู้ตรวจกดไหล่ เพื่อดูกำลังของกล้ามเนื้อ
1.Olfactory nerve (ดมกลิ่น)
ให้ผู้ป่วยหลับตาแล้วดมกลิ่นต่างๆ
Hypoglossal nerve (ควบคุมกล้ามเนื้อของลิ้น)
ให้ผู้รับบริการอ้าปากและแลบลิ้นเข้าออกเร็ว ๆ พร้อมตวัดลิ้นไปมาสังเกตขนาดถ้าเอียงไปด้านใดด้านหนึ่งแสดงว่ามีความผิดปกติ
ระดับความรู้สึกตัวปกติ Alert
Alert
ระดับความรู้สึกตัวปกติ
Drawsiness
ระดับความรู้สึกตัวซึมลง
Delirium
หงุดหงิดตอบคำถามไม่ได้
Stupor
ต้องปลุกแรง ๆ ลืมตา แล้วหลับต่อ
Coma
ไม่รู้สึกตัว
Confuse
พูดจาไม่ค่อยรู้เรื่อง
การประเมินระดับความรู้สึกตัวโดยใช้ (Glaslow Coma Score)
eye opening
E4 = ลืมตาเอง
E3 = ลืมตาเมื่อเรียก
E2- ลืมตาเมื่อเจ็บ
E1 = ไม่ลืมตาเลย
moter response
M6 = ทำตามคำสั่งได้
M5 = เอามือปัดตำแหน่งที่เจ็บได้
M4 = ขยับเมื่อเจ็บ
M3 = กระตุ้นให้เจ็บแล้วงอแขนเข้า
M2 = กระตุ้นให้เจ็บแล้วงอแขนออก
M1 = ไม่ขยับตัว
Verbral response
V5 = ตอบคำถามได้ถูกต้อง
V4 = ตอบคำถามได้ แต่ไม่ถูกต้อง
V3 = ตอบคำถามเพียง 2-3 คำ
V2 = ออกเสียงอืออา
V1 = ไม่โต้ตอบ
Sensory System
Pain Sensation, Touch Sensation
การทดสอบความจำแนกลักษณะของวัตถุโดยการสัมผัส
ให้ผู้รับบริการหลับตา นำวัตถุไปวางในมือ เช่น ปากกา ยางลบ ให้ผู้รับบริการทายว่าคือวัตถุอะไร ทดสอบทีละข้าง
Vibration Sensation
การรับรู้การสั่นสะเทือน ใช้ส้อมเสียงความถี่ เคาะให้สั่น แล้ววางบนหลังกระดูก
เช่น ตาตุ่ม หัวเข่า ข้อศอก ข้อมือ หรือตามกระดูกสันหลัง
Traced Figure Identification
การรับรู้สิ่งที่เขียนบนผิวหนัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การเจาะหลัง
เป็นบทบาทของแพทย์ในการวิเคราะห์ความผิดปกติของระบบประสาท
การตรวจทางรังสี (CT)
เป็นวิธีการฉายภาพทางรังสี ที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยตัดต่อ และเลือกภาพให้มีความชัดเจนและเห็นรายละเอียดได้มากขึ้น
Magnetic resonance imaging
เป็นวิธีการตรวจโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถมองเห็นรายละเอียดของสมองหรือส่วนที่ต้องการตรวจได้ชัดเจนกว่าการตรวจ CT
Cerebral angiogram
เป็นวิธีการฉีดสารทึบแสงเข้าทาง Femoral artery ดูการอุดตันที่หลอดเลือดในสมองต่างๆดูภาวะเนื้องอกในสมอง
Electroenphalography
เป็นวิธีที่ใช้วัดคลื่นไฟฟ้าบริเวณเปลือกนอกของเนื้อสมอง
การตรวจรีเฟล็กซ์
การตรวจรีเฟล็กซ์การตรวจปฏิกิริยาตอบสนองชนิดลึก (Deep tendon reflex)
Triceps reflex
เป็นการตรวจสอบการทำงานของเส้นประสาท Cervical spinal nerve คู่ที่ 6 และ 7 และ Radial nerve
ปลายแขนห้อยใช้ไม้เคาะบริเวณเอ็นของกล้ามเนื้อ Triceps brachealis
Biceps reflex
เป็นการตรวจสอบการทำงานของเส้นประสาท Cervical Spinal nerve คู่ที่ 5 และ Musculacutaneous nerve ผู้รับบริการงอข้อศอกเล็กน้อยผู้ตรวจวางนิ้วหัวแม่
มือบน Biceps tendon กดปลายนิ้วหัวแม่มือลงเล็กน้อยใช้ไม้เคาะรีเฟล็กซ์
Quadriceps reflex
Lumbar spinal nerve คู่ที่ 2-4 ให้ผู้รับบริการนั่งห้อยเท้าที่ขอบเตียง
Femoral nerve
ใช้ไม้เคาะรีเฟลีตซ์ บริเวณ Patella tendon
การตอบสนองที่ปกติ: ขาท่อนล่างจะเหยียดเนื่องจาก Quadriceps femolis หดตัว
การตรวจปฏิกิริยาตอบสนองชนิดตื้น
ทดสอบปฏิกิริยาของแก้วตา
เป็นการตรวจสอบการทํางานของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5
ทดสอบการหดตัวของถุงอัณฑะ
ปฏิกิริยาตอบสนอง: จะเห็นลูกอัณฑะด้านที่ทดสอบหดตัว
พยาบาลใช้วัตถุที่ทู่ๆ ขีดลากที่ด้านในของต้นขาให้ผู้รับบริการนอนหรือนั่งในแนวเฉียงลงล่างและเข้าใน
ทดสอบปฏิกิริยาตอบสนองที่ผนังหน้าท้อง
ปฏิกิริยาตอบสนอง: ผนังหน้าท้องจะหดตัวตามการกระตุ้น สะดือจะเอียงไปด้านที่ทำการทดสอบ แสดงปฏิกิริยาตอบที่ผนังหน้าท้อง
ใช้วัตถุปลายขู่เขี่ยบริเวณหน้าท้องรอบ ๆ สะดือเบา ๆ
ระบบประสาท
ระบบประสาทส่วนกลาง
สมอง
สมองใหญ่ (Cerebrum)
รับความรู้สึก ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบประสาทอัตโนมัติ
สมองน้อย (Cerebellum)
ควบคุมสมดุลการเคลื่อนไหวของร่างกาย
ไขสันหลังสมอง
สามารถส่งกระแสประสาทไปยังสมองและส่วนต่างๆของร่างกาย
หน้าที่: เคลื่อนไหวและการรับความรู้สึกต่างๆ
ระบบประสาทส่วนปลาย
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) 12 คู่
่เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) 31 คู่
ระบบประสาทอัตโนมัติ
Sympathetic
Parasympathetic
ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุมหลัก
การสั่งงานและควบคุมการทำงานของร่างกาย
ทำโดยการรับสัญญาณจากประสาทส่วนกลางส่งไปยังอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
การรับความรู้สึก
บริเวณผิวหนัง กล้ามเนื้อ ข้อต่อ อวัยวะภายใน ลูกตา จมูก ลิ้น หู
การวิเคราะห์ข้อมูล
รับจากภายนอกร่างกายเข้าประสาทรับความรู้สึก มาแปลผลตัดสินใจและส่งต่อข้อมูล
การตรวจการทำงานประสานกัน
การทดสอบ heel to knee
ท่าที่เหมาะสมสำหรับตรวจคือท่าผู้ป่วยนอน
การทดสอบ Finger to nose
นำนิ้วชี้ข้างที่สัมผัสจมูกไปสัมผัสกับปลายนิ้วชี้ข้างที่กางออก ทำซ้ำ 2- 3 ครั้งสลับทำอีกข้างหนึ่ง
การทดสอบ finger to finger +
ให้ผู้ป่วยหลับตาและกางแขนออกเต็มที่ แล้วเหวี่ยงแขนเข้าในให้เป็นวงจนปลายนิ้วทั้งสองข้างมาแตะกันตรงกลาง
การทดสอบ Finger to nose to finger
ปลายนิ้วสัมผัสจมูกตนเอง และนำไปสัมผัสกับปลายนิวชี้ของพยาบาล
Romberg test
สังเกตว่าผู้ป่วยสามารถทรงตัวอยู่ได้หรือไม่ หรือล้มเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง
การตรวจทั่วไป
การเดิน ลักษณะที่แสดงออก
Motor System
ดูรายละเอียดการประเมิน ได้จากประเมินภาวะสุขภาพ ระบบกระดูกข้อ และกล้ามเนื้อ
Planter reflex
การแปลผล: มีการเหยียดของนิ้วเท้า ถือว่าการตอบสนองผิดปกติ
การตอบสนองผิดปกติเรียกว่ามี barbinski response หรือ barbinski ให้ผล +
ผู้รับบริการนอนหงายไม่เกร็งกล้ามเนื้อ ใช้วัตถุปลายทูพูดที่ฝ่าเท้าผ
การทดสอบอื่น ๆ ที่จําเป็น
Signs of meningeal irritation
การทดสอบอาการ Kernig
อาจมีการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
ผู้รับบริการงอเข่า 90 องศา พยาบาลค่อยๆ จับเข่าของผู้รับบริการยืดออก
การทดสอบอาการคอแข็ง
ปกติจะสามารถยกศีระษะขึ้นได้โดยไม่มีอาการเจ็บปวด
อาการเจ็บคอหรือเกร็งกล้ามเนื้อคอแสดงว่าการทดสอบให้ผลเป็นบวกอาจหมายถึงมีพยาธิสภาพของเยื่อหุ้มสมอง