Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติและ จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ -…
นโยบายกฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติและ
จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
เส้นทางนโยบาย กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
ภาพลักษณ์ผู้สูงอายุไทย ที่พึงปรารถนาในทศวรรษหน้า
มีสุขภาพกายและจิตที่ดี
อยู่ในครอบครัวอย่างมีความสุข มีสังคมที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
พึ่งตนเองได้ มีประโยชน์ เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของครอบครัวและสังคมและมีศักดิ์ศรี
มีหลักประกันมั่นคง ได้รับสวัสดิการและบริการที่เหมาะสม
มีความรู้และมีโอกาสได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรการด้านสุขภาพ ต้องเน้นบริการที่เข้าถึงตัวผู้สูงอายุในเชิงรุก การบริการระดับชุมชนและการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Community base care, Home care)
เส้นทาง (timeline) ของนโยบาย กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
1) องค์การสหประชาชาติได้จัดประชุมสมัชชาผู้สูงอายุ
จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ขึ้นเป็นครั้งแรก
จัดทาแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 – 2544)
คณะรัฐมนตรีมีมติให้ วันที่ 13 เมษายน ของทุกปีเป็นวัน “ผู้สูงอายุแห่งชาติ”
2) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544) ในการดาเนินงานด้านผู้สูงอายุ 1) ด้านสุขภาพอนามัย 2) ด้านความมั่นคงทางรายได้และการทางาน 3) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม 4) ด้านสวัสดิการสังคม 5) ด้านวิจัยและพัฒนา
กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้สูงอายุไทย
กฎหมาย หมายถึง กฎแห่งความประพฤติของมนุษย์ในสังคม ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมความประพฤติของมนุษย์ และบรรทัดฐานความประพฤติ สาหรับมนุษย์รุ่นต่อ ๆ ไปในอันที่จะต้องปฏิบัติตาม
1) ปฏิญญาผู้สูงอายุไทยเป็นพันธกรณีเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ จึงได้กาหนด สาระสาคัญไว้ดังนี้
ข้อที่ 1 ผู้สูงอายุต้องได้รับป๎จจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี ได้รับการพิทักษ์และคุ้มครองให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง
ข้อที่ 2 ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่ การยอมรับ บทบาทของกันและกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ข้อที่ 3 ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและ บริการทางสังคมอันเป็นประโยชน์ในการดารงชีวิต
ข้อที่ 4 ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม มีโอกาสได้ทางานที่เหมาะสมกับวัยและตามความสมัครใจ
ข้อที่ 5 ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ต้องมีหลักประกันและสามารถเข้าถึงบริการด้าน
ข้อที่ 6 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึ่งพาตนเองได้ สามารถช่วยเหลือครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในสังคม
ข้อที่ 7 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องกาหนดนโยบาย
ข้อที่ 8 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ
ข้อที่ 9 รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องรณรงค์ปลูกฝ๎ง
2) พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
เหตุผลในการตราพระราชบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 54 ได้บัญญัติเกี่ยวกับสิทธิผู้สูงอายุ ให้มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ เพื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ และเพื่อให้ได้กฎหมายที่ครอบคลุมทุกด้านสาหรับผู้สูงอายุ
3) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 พ.ศ. 2525 - 2544
เป็นแผนที่กาหนด “สิทธิ” ของผู้สูงอายุไทยอย่างชัดเจนฉบับแรก ช่วงเวลาดังกล่าวประเทศไทยอยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2521 (ปิยากร หวังมหาพร, 2554) ในการดาเนินงานด้านผู้สูงอายุในประเทศไทยนั้น ได้มีการจัดทาแผนผู้สูงอายุฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525-2544) ประกอบด้วยการดาเนินงานใน 5 ด้าน ได้แก่
1) ด้านสุขภาพอนามัย
2) ด้านความมั่นคงทางรายได้และการทางาน
3) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม
4) ด้านสวัสดิการสังคม
5) ด้านวิจัยและพัฒนา
4) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 – พ.ศ.2564
เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุต่อจากแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544) มีลักษณะเป็นแผนฯ ที่มีการบูรณาการ มีการกาหนด มาตรการ ดัชนีและเปูาหมายของมาตรการต่างๆ อย่างชัดเจน
วิสัยทัศน์ “ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม”
1) ประชากรผู้สูงอายุที่มีสถานภาพดี
2) ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากและต้องการการเกื้อกูล
3) ครอบครัวและชุมชนเป็นสถาบันหลักในการเกื้อหนุนผู้สูงอายุ
4) ระบบสวัสดิการและการบริการจะต้องสามารถรองรับผู้สูงอายุให้สามารถดารงอยู่กับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ
5) รัฐจะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในระบบบริการ
5) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 - 2564 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ.2552
ปรัชญา ผู้สูงอายุไม่ใช่ผู้ด้อยโอกาสหรือเป็นภาระต่อสังคม แต่สามารถมีส่วนร่วม เป็นพลังพัฒนาสังคม จึงควรได้รับการส่งเสริมและเกื้อกูลจากครอบครัว ชุมชน และรัฐให้ดารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรีแสดงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีให้นานที่สุด ขณะเดียวกันผู้สูงอายุที่ประสบความทุกข์ยาก ต้องได้รับการเกื้อกูลจากครอบครัว ชุมชน
วิสัยทัศน์ “ผู้สูงวัยเป็นหลักชัยของสังคม” ประชากรผู้สูงอายุที่มีสถานภาพดี (สุขภาพ ดีทั้งกายและจิต ครอบครัวอบอุ่นมีสังคมที่ดี มีหลักประกันที่มั่นคง ได้รับสวัสดิการและการบริการที่เหมาะสมอยู่อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี พึ่งตนเองได้ มีส่วนร่วม มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างต่อเนื่อง) ผู้สูงอายุที่ทุกข์ยากและต้องการการเกื้อกูล
6) สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการขององค์การสหประชาชาติ
การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิที่จะได้รับอาหาร น้า ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และการดูแลสุขภาพอย่างเพียงพอ
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิและโอกาสได้ทางาน หรือมีโอกาสที่จะสร้างรายได้ทางอื่นให้กับตนเอง
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิและมีส่วนร่วมในการกาหนดการเกษียณอายุการทางาน
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิเข้าถึงโครงการฝึกอบรมและโครงการด้านการศึกษาที่เหมาะสม
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิที่จะอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิที่จะพักอาศัยอยู่ที่บ้านของตนเองได้นานที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
การมีส่วนร่วม
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิคงอยู่ในสังคม และมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการกาหนด
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิที่จะแสวงหาและพัฒนาโอกาสในการให้บริการแก่ชุมชน
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิที่จะก่อตั้งขบวนการหรือสมาคมเพื่อผู้สูงอายุ
การอุปการะเลี้ยงดู
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิที่จะได้รับการอุปการะเลี้ยงดู และการปกปูองคุ้มครองจากครอบครัวและชุมชน
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิเข้าถึงบริการด้านการดูแลสุขภาพ เพื่อช่วยให้สามารถและคงไว้หรือฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ให้อยู่ในระดับที่สมบูรณ์ที่สุด และเพื่อช่วยปูองกันหรือชะลอการเกิดภาวะเจ็บปุวยอีกด้วย
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิได้รับบริการทางด้านสังคมและกฎหมาย เพื่อส่งเสริมอิสระภาพในการดาเนินชีวิตการปกปูองคุ้มครองและการอุปการะเลี้ยงดู
ผู้สูงอายุพึงมีสทิธิที่จะได้รับประโยชน์จากการเลี้ยงดูในสถานสงเคราะห์ ซึ่งจะให้ บริการด้านการปกปูองคุ้มครอง การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิมนุษยชนทั้งปวงและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ในขณะที่อยู่ในสถานที่ใดใด หรือในสถานที่ให้บริการดูแลรักษา
การบรรลุความต้องการ
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิที่จะแสวงหาโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิเข้าถึงแหล่งการศึกษา วัฒนธรรม ความเชื่อ ทางศาสนา และนันทนาการในสังคม
ความมีศักดิ์ศรี
ผู้สูงอายุพึงมีสิทธิที่จะดารงชีวิตอยู่อย่างมีศักดิ์ศรี และมีความมั่นคงปลอดภัยปราศจากการถูกแสวงหาผลประโยชน์
ผู้สูงอายุพึงได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมโดยไม่คานึงถึงความแตกต่างทางวัยเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ภูมิหลัง ศาสนา ความพิการ ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือสถานภาพอื่นใด
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติที่ชอบที่ปรารถนาของผู้พบเห็น
วิชาชีพพยาบาล เป็นวิชาชีพที่ถูกคาดหวังว่าผู้ประกอบวิชาชีพต้องมีคุณธรรม จริยธรรม เนื่องจากต้องเกี่ยวข้องกับผู้ที่อยู่ในความทุกข์ทั้งกาย และใจ
การพยาบาลและองค์ประกอบทางจริยธรรมในการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
1) ให้ความเคารพยกย่อง คานึงถึงคุณค่าของความสูงอายุที่สั่งสมความรู้ความสามารถ และ
ประสบการณ์มายาวนาน
2) ยอมรับความสูงอายุว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงตามวงจรชีวิตมนุษย์ ยอมรับความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
3) ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ คงความสามารถในการทาหน้าที่ของร่างกายและดูแลตนเอง ยอมรับ
ความคิดเห็น ความต้องการของผู้สูงอายุ
4) ปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้สูงอายุอย่างเท่าเทียมกับบุคคลในวัยอื่
5) ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
6) ศึกษาหาความรู้ และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ เพื่อให้มีความรู้ในการดูแลและให้
คาแนะนาผู้สูงอายุ
7) รักและศรัทธาในวิชาชีพ เห็นคุณค่าของวิชาชีพว่าเป็นวิชาชีพที่มีประโยชน์แก่เพื่อนมนุษย์
เพื่อพยาบาลจะได้มีอารมณ์ที่มั่นคงเมื่อต้องพบกับป๎ญหาจากผู้สูงอายุ
ประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
พินัยกรรม วัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเกี่ยวข้องกับพินัยกรรม พินัยกรรมเป็นการแสดงเจตนากาหนดการเผื่อตายเรื่องทรัพย์สินของตนเอง พินัยกรรมมี 5 แบบ ดังนี้
1) พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ ผู้ทาพินัยกรรมต้องเขียนด้วยลายมือตนเองทั้งฉบับ ไม่ต้องมีพยานรับรอง
2) พินัยกรรมแบบธรรมดา ต้องทาเป็นหนังสือ มีการลงลายมือผู้ทาพินัยกรรม พยาน 2 คน
3) พินัยกรรมแบบเอกสารฝุายเมือง ผู้ทาพินัยกรรมต้องไปทาที่อาเภอแจ้งความประสงค์ว่าตนต้องการทาพินัยกรรมเพื่อยกทรัพย์สินให้แก่ใคร
4) พินัยกรรมแบบเอกสารลับ ผู้ทาพินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรมบรรจุไว้ในซองและคาบรอยผนึกบนซอง และเก็บเอกสารไว้ที่อาเภอ
5) พินัยกรรมแบบวาจา มักทาเมื่อไม่สามารถทาพินัยกรรมแบบอื่นได้ มีพยาน 2 คน และพยานแจ้งความประสงค์ของผู้ทาพินัยกรรมต่อนายอาเภอ
พินัยกรรมชีวิต (Living will) คือ เอกสารที่จัดทาขึ้นเพื่อแสดงเจตจานงว่าเมื่ออยู่ในสภาพที่ไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง เช่น ในสภาวะเจ็บปุวยหนักไม่รู้สึกตัวและใกล้ตาย
การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life care)พยาบาลมีบทบาทสาคัญในการประเมินความพร้อมในการ รับรู้ความพร้อมที่จะตายผู้สูงอายุอาจพร้อมหรือไม่พร้อมที่จะเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิต หากยังไม่พร้อมต้องมีเทคนิคในการสนทนาอย่างรอบคอบในการบอกข้อมูลแก่ผู้ปุวยสูงอายุ การแนะนาให้เตรียมทาพินัยกรรม บางกรณีผู้สูงอายุที่เจ็บปุวยถึงระยะสุดท้ายของชีวิตบางรายไม่กลัวที่จะต้องตาย
เมตตามรณะ (Euthanasia) หมายถึง การให้ผู้ปุวยที่สิ้นหวังที่ทนทุกข์ทรมานจากโรคที่รักษาไม่หายได้ตายลงโดยไม่เจ็บปวด แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
Active Euthanasia คือ การที่แพทย์ฉีดยา ให้ยา หรือกระทาโดยวิธีการอื่นๆ ที่ทาให้ผู้ปุวยตายโดยตรง มีในเนเธอร์แลนด์ประเทศเดียว
Passive Euthanasia คือ การที่แพทย์ปล่อยให้ผู้ปุวยที่สิ้นหวังตายโดยไม่ให้การรักษา มีในสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรีย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส เดนมาร์ก สวีเดน อิสราเอง และเยอรมัน
สาเหตุของการทารุณกรรม แบ่งออกได้ 2 สถานที่ใหญ่ คือ การทารุณกรรมในบ้านและการทารุณกรรมในสถานบริการ ดังนี้
1) การทารุณกรรมในบ้าน อาจมีสาเหตุมาจาก
1.1) ภาวะเครียดจากสถานการณ์การดูแล ด้วยผู้ดูแลส่วนใหญ่ขาดความรู้และทักษะในการดูแลแต่อาจอยู่ในภาวะจายอมที่จะต้องมาเป็นผู้ดูแล
1.2) ผู้ดูแลไม่พอใจที่ผู้ปุวยเป็นภาระ เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ได้ประกอบอาชีพและส่วนใหญ่ไม่มีรายได้เป็นของตนเองต้องพึ่งพาอาศัยลูกหลานอยู่แล้ว
1.3) ป๎ญหาในครอบครัว ในแต่ละครอบครัวอาจมีป๎ญหาที่แตกต่างกันไป เช่น ป๎ญหาการหย่าร้าง หรือป๎ญหาขาดผู้ที่จะมาดูแล
1.4) ไม่มีเงินใช้จ่ายสาหรับสิ่งของจาเป็น สถานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวเป็นสิ่งสาคัญเมื่อมีคนเจ็บปุวยในครอบครัวจะทาให้มีค่าใช้จ่ายในการดูแลเพิ่มมากขึ้น
1.5) มีประวัติการทารุณกรรมในครอบครัว เช่น ในครอบครัวมีประวัติทะเลาะ ด่าทอ หรือทาร้ายร่างกายมาก่อน
1.6) ป๎ญหาสัมพันธภาพระหว่างผู้ดุแลและผู้สูงอายุ ป๎นหาด้านสัมพันธภาพในครอบครัวเป็นประเด็นสาคัญที่ควรได้รับความสนใจ
1.7) ผู้เคราะห์ร้ายหรือเหยื่อ (victim) หรือผู้กระทารุณกรรม (abuser) มีป๎ญหาพฤติกรรมส่วนตัว เช่น ติดเหล้า ติดยาเสพติด
2) ทารุณกรรมในสถานบริการ สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ดังนี้
2.1) บุคลากรมีภาวะเครียดจากสถานการณ์การทางาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดูแลผู้สูงอายุในสถานดูแลระยะยาว เช่น ในสถานบริบาล (nursing home)
2.2) บุคลากรมีภาวะเหนื่อยล้าจากการทางาน (staff burnout) ที่เกิดขึ้นจากการทางานหนักมากเกินไปและพักผ่อนไม่เพียงพอ
2.3) ผู้ปุวยมีอาการก้าวร้าว ซึ่งอาจมาจากอาการของโรค เช่น ภาวะสมองเสื่อม
2.4) บุคลการมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้สูงอายุ โดยบุคลากรผู้ให้บริการอาจมีทัศนคติเชิงลบต่อผู้สูงอายุ เช่น อาจมองว่าผู้สูงอายุมักจู้จี้ขี้บ่น เอาแต่ใจตนเอง
ปัจจัยเสี่ยงทาให้เกิดการทารุณกรรมในผู้สูงอายุ แบ่งออกเป็น ตัวผู้สูงอายุ ผู้ดูแล และสิ่งแวดล้อม ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ผู้สูงอายุ ในด้านผู้สูงอายุ การทารุณกรรมมักพบบ่อยในผู้สูงอายุเพศหญิง ที่มีพาวะพึ่งพิง มีการสูญเสียหน้าที่ของร่างกาน มีป๎ญหาในการดื่มสุรา เคยมีประวัติการทารุณกรรม หรือมีพฤติกรรมก้าวร้าว หรือ ยั่วยุ
ผู้ดูแล การทารุณกรรมมักพบภาวะเสี่ยงในผู้ดูแลที่มีภาวะติดยา มีอาการปุวยทางจิต ไม่มีประสบการณ์การดูแล มีภาวะพึ่งพาทางเศรษฐกิจ เครียดจากป๎ญหาในการดูแล มีประวัติถูกกระทาทารุณกรรม (abuse) หรือมีพฤติกรรมแยกตัว
สิ่งแวดล้อม การทารุณกรรมจะพบได้ในผู้สูงอายุที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ขาดการสนับสนุนจากครอบครัวมีป๎ญหาจากการสมรส เหตุเกิดขึ้นทันทีทันใด
ประเภทของการทารุณกรรม
1) การทารุณกรรมทางร่างกาย (physical abuse) เพื่อเป็นการใช้พละกาลังทางกาย (physical force) ที่อาจทาให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บ อาการปวดทางกาย
2) การทารุณกรรมทางเพศ (sexual abuse) การทารุณกรรมทางเพศเป็นการสัมผัสทางเพศชนิดต่างๆ โดยที่ไม่ได้รับความยินยอมจากผู้สูงอายุ
3) การทารุณกรรมทางด้านจิตใจ (Emotional abuse/psychological abuse) การทารุณกรรมทางจิตใจ ที่เกี่ยวกับการทาให้เกิดความทรมานความปวดร้าว เจ็บปวดทางอารมณ์ (emotional pain) หรือทาให้ทุกข์โศก (distress)
การป้องกันการทารุณกรรม มีแนวคิดการปูองกันการทารุณกรรม 2 แนวคิดดังนี้
1 การป้องกันการทารุณกรรมตามแนวคิดของ Bunmhover and Beall (1996) แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ
1) การป้องกันปฐมภูมิ (primary prevention) มุ่งเปูาหมายไปที่ประชาชนทั่วไป โดยประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการทารุณกรรม
2) การป้องกันทุติยภูมิ (secondary prevention) ให้บริการแก่ครอบครัวหรือบุคคลที่มีภาวะเสี่ยงสูงในการทารุณกรรม โดยให้โปรแกรมการให้ความรู้ การทากลุ่มสนับสนุน และแหล่งประโยชน์
2 การป้องกันการทารุณกรรมในผู้สูงอายุ ตามแนวคิดของ Pillmer,etal, (2007) แบ่งออกเป็น 1) การปูองกันแบบถ้วนหน้า(universal prevention)
2) การคัดเลือกวิธีการปูองกัน (selective prevention)
3) ระบุวิธีการปูองกัน (indicated prevention)