Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจารณ์วรรณกรรมเบื้องต้น, นางสาว ธมลวรรณ แทนลี 6340101109 นางสาว…
การวิจารณ์วรรณกรรมเบื้องต้น
ความหมาย
การนำความรู้และหลักการที่ถูกต้องมาพิจารณา
แสดงความคิดเห็น
เพื่อสร้างสรรค์วรรณกรรมให้มีคุณค่า
ประวัติพัฒนาการ
การแสดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วรรณกรรมตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
แลกเปลี่ยนสนทนาในวงแคบ
แทรกความคิดไว้ในบทประพันธ์
แสดงความคิดเห็นโดยวาจา
ได้รับอิทธิพลจากชาติตะวันตก
รูปแบบการประพันธ์สมัยใหม่
นวนิยาย
เรื่องสั้น
ช่วงเวลา
การวิจารณ์ในยุคเริ่มต้น (พ.ศ. 2419-2475)
เริ่มขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็กพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
สนับสนุนให้มีการวิจารณ์ที่เป็นทางการมากขึ้น
เริ่มมีการวิจารณ์วรรณอย่างเป็นกิจลักษณะ
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 2 (พ.ศ. 2476-2490)
มีการสอนวิชาวิจารณ์วรรณกรรมในสถาบัน
เริ่มเอาแบบอย่างการวิจารณ์แบบตะวันตด
มีนักวิจารณ์รุ่นใหม่เพิ่มมากขึ้น
ได้รับการสนับสนุนการรัฐบาล
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 3 (พ.ศ. 2491-2501)
เป็นระยะที่นักวิจารณ์กลุ่มคิด ศิลปะเพื่อชีวิต
มีรูปแบบการวิจารณ์ที่แตกต่างไปจากเดิม
มีความเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางการเมือง
การวิจารณ์วรรณในยุคที่ 4 (พ.ศ. 2502-2515)
มีการเคลื่อนไหวในเรื่องการวิจารณ์วรรณกรรมซบเซาในปีพ.ศ. 2508
พ.ศ. 2512 มีมีนักวิจารณ์รุ่นใหม่
มีบทบาทในการวิจารณ์มากขึ้น
นำเอาวรรณคดีวิจารณ์แผนใหม่จากชาติตะวันตกเข้ามา
มีการวิจารณ์คุณภาพทางปัญญามากกว่าความบันเทิง
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 5 (พ.ศ. 2516-2519)
เป็นช่วงที่การวิจารณ์วรรณกรรมมีการขยายตัวที่สุด
มีงานวิจารณ์และนักวิจารณ์เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก
นักวิจารณ์รุ่นใหม่ฟื้นฟู
แนวคิดศิลปะเพื่อชิวิติมาเป็นแนวการวิจารณ์อย่างจริงจัง
การวิจารณ์แนวมาร์กซิสมีความเฟื่องฟูถึงขีดสุด
การวิจารณ์มีความคึกคักและเต็มไปด้วยความขัดแย้ง
การวิจารณ์วรรณกรรมในยุคที่ 6 (พ.ศ. 2520-2544)
เป็นระยะที่การวิจารณ์แนวศิลปะเพื่อชีวิต
พ.ศ.2525การวิจารณ์วรรณกรรมได้พัฒนาไปสู่ศิลปะที่เป็นสากลมากขึ้น
แนวคิดมาร์กซิสต์เริ่มอ่อนตัวลงเพราะผลกระทบจากระดับกว้าง
แนวคิดสังคมนิยมประสบกับภาวะวิกฤติ
แนวคิดเสรีประชาธิปไตยได้กลับมาเป็นแนวความคิดหลัก
ประโยชน์ของการวิจารณ์
ช่วยให้ความรู้และแง่คิดในมุมมองต่างๆ
ช่วยเป็นแนวทางในการเลือกอ่านวรรณกรรม
ช่วยคัดกรองวรรณกรรมที่ถูกส่งจากรุ่นสู่รุ่น
ช่วยให้ผู้ประพันธ์วรรณกรรมได้เข้าใจมุมมองในด้านดีและข้อด้อยของผลงานผ่านมุมมองผู้รู้
ช่วยให้ผู้ประพันธ์มีความรอบคอบในการสร้างสรรค์วรรณกรรม
ลักษณะของนักวิจารณ์วรรณกรรมที่ดี
มีความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรมที่เป็นนักวิจารณ์เป็นอย่างดี
เรื่องรูปแบบของวรรณกรรม
หลักการใช้ภาษา
องค์ความรู้
มีความซื่อตรงในการวิจารณ์
ไม่ใช้อคติส่วนตัว
วิจารณ์ด้วยหลักการและมุมมองที่เป็นกลาง
มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนา
ม่งให้เกิดการปรับเปลี่ยนและพัฒนา
ใช้ภาษาพูดหรือเขียน
ด้วยความชัดเจน
เข้าใจง่าย
มีความสุภาพในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
แนวการวิจารณ์วรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย
เนื้อหาของวรรณกรรม
มีความเหมาะสมกับวัย
เนื้อหามีความสนุกสนาน
ดำเนินเรื่องน่าสนใจไม่ใช้บรรยายมากเกินไป
คุณค่าด้านต่างๆครบถ้วน
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ทำให้ผู้อ่านเกิดจินตนาการ
ทำให้ได้รับผลทางอารมณ์ความรู้สึก
เกิดความสดชื่น
เบิกบาน
ขบขัน
เพลิดเพลิน
ขบคิด
เศร้าโศก
ปลุกใจ
ทำให้เกิดความรู้สึกในจิตใจ
เกิดจินตนาการสามารถสร้างภาพคิดในสมองได้ดี
คุณค่าด้านสังคม
สะท้อนเรื่องราว
สามารถนำความคิดและประสบการณ์มาประยุกต์ใช้
สามารถแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้
แก่นของเรื่อง(วัตถุประสงค์)
เข้าใจง่ายไม่สับสน
มีความคิดรวบยอดมากกว่าหนึ่ง
มีระบบและมีความเหมาะสมกลมกลืน
มีรูปแบบที่ชัดเจน
บทร้อยแก้ว
บทร้อยกรอง
สำนวนการใช้ภาษา
เป็นภาษาง่ายๆโดยไม่ต้องนำมาแปลอีกครั้ง
การเขียนคำถูกต้องตามหลักเกณฑ์การใช้ภาษา
ภาพประกอบที่ใช้ในวรรณกรรมสำหรับเด็ก
ภาพวาด
ภาพถ่าย
ภาพตัดแปะ
ต้องเหมาะสมตามพัฒนาการและความสนใจของเด็กแต่ละช่วงวัย
ขนาดตัวอักษรและขนาดของรูปเล่ม
ขนาดตัวอักษร
ประมาณ20-30 พอยท์ (ประมาณ1/2 ซ.ม.)
ตัวอักษรไม่ควรมีลวดลาย
มีรูปแบบที่ชัดเจน
อ่านง่าย
การเขียนตัวอักษรถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา
ขนาดของรูปเล่ม
ขนาด 8 หน้ายก ( 18.5*26 ซ.ม.)
ขนาด 16 หน้ายกเล็ก(13*18.5 ซ.ม.)
ขนาด 16 หน้ายก ใหญ่ (14.8*21ซ.ม.)
มีจำนวนหน้าที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก
จำนวน 8หน้า สำหรับเด็กเล็ก
จำนวน 8-16 หน้า สำหรับเด็กวัย 2-4 ปี
จำนวน 16-32 หน้า สำหรับเด็กวัย 5-6ปี
การเข้าเล่ม
มีความแข็งแรง
ไม่ขาดง่าย
สะดวกในการที่เด็กนำไปอ่าน
ปกควรกระดาษหนา
แข็งแรงคงทน
นางสาว ธมลวรรณ แทนลี 6340101109
นางสาว เปรมวดี วรรณสี 6340101115
นางสาว เพชรนภา เกิดจันทึก 6340101119