Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ…
บทที่ 7 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
1. เส้นทางนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับผู้สูงอายุไทย
พ.ศ. 2542
“คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานผู้สูงอายุแห่งชาติ”
เรียกโดยย่อว่า “กสผ.”
พ.ศ. 2545
ได้มีการจัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – 2564) ซึ่งเป็นแผนที่ทุกกระทรวง ทบวง กรม ถือปฏิบัติ ในขณะนี้
ภาพลักษณ์ผู้สูงอายุไทย ที่พึงปรารถนาในทศวรรษหน้า
มีสุขภาพกายและจิตที่ดี
อยู่ในครอบครัวอย่างมีความสุข มีสังคมที่ดีและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
พึ่งตนเองได้ มีประโยชน์ เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของครอบครัวและสังคมและมีศักดิ์ศรี
มีหลักประกันมั่นคง ได้รับสวัสดิการและบริการที่เหมาะสม
มีความรู้และมีโอกาสได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
พ.ศ. 2546
จัดทำและประกาศใช้ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2550
ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งมีมาตราที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ 2 มาตรา หมวดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย 2 มาตรา มาตราที่ 53 มาตราที่ 80
พ.ศ. 2541 มีการรับรอง ปฎิญญามาเก๊า
พ.ศ. 2525
จัดทำแผนผู้สูงอายุฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544) ประกอบด้วยการ
ดำเนินงานใน 5 ด้าน 1) ด้านสุขภาพอนามัย 2) ด้านความมั่นคงทางรายได้และการทำงาน 3) ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม
4) ด้านสวัสดิการสังคม และ 5) ด้านวิจัยและพัฒนา
พ.ศ. 2525
จัดตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ขึ้นเป็นครั้งแรก
จัดท าแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 – 2544)
คณะรัฐมนตรีมีมติให้ วันที่ 13 เมษายน ของทุกปีเป็นวัน “ผู้สูงอายุแห่งชาติ”
พ.ศ. 2540
ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
2. กฎหมาย นโยบายที่เกี่ยวข้อง
โดยตรงกับผู้สูงอายุไทย
กฎหมาย หมายถึง กฎแห่งความประพฤติของมนุษย์ในสังคม ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมความประพฤติของมนุษย์และบรรทัดฐานความประพฤติ สำหรับมนุษย์รุ่นต่อ ๆ ไป
พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
และนโยบายที่เกี่ยวข้อง
1) ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
2) พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
3) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2525 - 2544)
“แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 มองว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่ได้ท าคุณประโยชน์ต่อสังคมและสมควรได้รับการตอบแทน”
4) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 – พ.ศ.2564)
ยุทธศาสตร์ยุทธศาสตร์ที่ถูกกำหนดขึ้นมีลักษณะบูรณาการ
และครอบคลุมในทุกมิติ ุ ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ 19 มาตรการ 57 ดัชนีชี้วัด และดัชนี รวมของแผน 3 ดัชน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการประมวล และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ และการติดตามประเมินผล การดำเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
6) แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ.2552
วิสัยทัศน์ “ผู้สูงวัยเป็นหลักชัยของสังคม” ประชากรผู้สูงอายุที่มีสถานภาพดี (สุขภาพ ดีทั้งกายและจิต
ครอบครัวอบอุ่นมีสังคมที่ดี มีหลักประกันที่มั่นคงได้รับสวัสดิการและการบริการที่เหมาะสมอยู่อย่างมีคุณค่า
มีศักดิ์ศรี พึ่งตนเองได้ มีส่วนร่วม
มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารอย่างต่อเนื่อง)
ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 5
ยุทธศาสตร์ 18 มาตรการหลัก 44
มาตรการย่อย 56 ดัชนีชี้วัด
และดัชนีรวมของแผน 4 ดัชนี
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและการพัฒนาผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเตรียมความพร้อมของประชากร
เพื่อวัยสูงอายุที่มีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการเพื่อการเพิ่มการพัฒนางาน
ด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการระดับชาติและ
การพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การประมวล พัฒนา และเผยแพร่องค์
ความรู้ด้านผู้สูงอายุและการติดตามระเมินผล
ปรัชญา ผู้สูงอายุไม่ใช่ผู้ด้อยโอกาสหรือเป็นภาระต่อสังคม แต่สามารถมีส่วนร่วม เป็นพลังพัฒนาสังคม
จึงควรได้รับการส่งเสริมและเกื้อกูลจากครอบครัว ชุมชน และรัฐให้ดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่า
กฎหมาย นโยบายอื่นๆ ของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมความพร้อมของประชากรในการเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ
1) นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง
หลักประกันด้านสุขภาพและหลักประกันด้านรายได
1.5) ปี พ.ศ.2554 พระราชบัญญัติการออมแห่งชาติ
(กอช.) พ.ศ.2554
1.6) ปี พ.ศ. 2544 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
(Retirement Mutual Fund ; RMF)
1.4) ปี พ.ศ.2539 พระราชบัญญัติกองทุน
บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539
1.7) ปี พ.ศ.2547 กองทุนรวมหุ้นระยะยาว
(Long Term Equity Fund: LTF)
1.3) ปี พ.ศ.2533 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533
1.2) ปี พ.ศ. 2530 พระราชบัญญัติกองทุนสำรอง
เลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530
1.1) ปี พ.ศ. 2471 พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2471
2) นโยบาย กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)
:2.2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
7) สิทธิของผู้สูงอายุตามหลักการของ
องค์การสหประชาชาติ
3) การอุปการะเลี้ยงดู
4) การบรรลุความต้องการ
2) การมีส่วนร่วม
5) ความมีศักดิ์ศรี
1) การมีอิสระภาพในการพึ่งตนเอง
4 จริยธรรม
จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติที่ชอบ
ที่ปรารถนาของผู้พบเห็น
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
พินัยกรรมชีวิต (Living will) คือ เอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดงเจตจำนงว่าเมื่ออยู่ในสภาพที่ไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
การพยาบาลผู้ปุวยระยะสุดท้าย พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการประเมินความพร้อมในการรับรู้ความพร้อมที่จะตาย
เมตตามรณะ (Euthanasia) หมายถึง การให้ผู้ปุวยที่สิ้นหวังที่ทนทุกข์ทรมานจากโรคที่รักษาไม่หายได้ตายลงโดยไม่เจ็บปวด
การทำทารุณกรรมในผู้สูงอายุ (Elderly Abuse)
การทารุณกรรม คือ การปฏิบัติต่อผู้สูงอายุโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ เป็นเหตุให้ผู้สูงอายุได้รับอันตรายปัญหาการทารุณกรรม
ระหว่างพยาบาลกับผู้สูงอายุ
นางสาวยุพาวดี แพงบุบผา 621201148